สืบค้นงานวิจัย
สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะและการป้องกันรักษาโรคปลานิลที่เลี้ยงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปณรัตน์ ผาดี - มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ชื่อเรื่อง: สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะและการป้องกันรักษาโรคปลานิลที่เลี้ยงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ชื่อเรื่อง (EN): Situation of an Application of Antibiotics and the Diseases Prevention and Treatment for Tilapia (Oreochromis niloticus) Culture in the Northeast of Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ปณรัตน์ ผาดี
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาสถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในการป้องกันรักษาโรคปลานิลที่เลี้ยงในกระชังในแม่น้ำ โขง แม่น้ำชี และแม่น้ำมูล ในพื้นที่ 15 จังหวัด ได้แก่ จ.เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร อำนาจเจริญ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ต ยโสธร บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี ระหว่างเดือนมิถุนายน 2555 ถึงเดือนพฤษภาคม 2556 พบว่า เกษตรกรผู้ลี้ยงปลานิลในกระชังทั้งหมดมีการใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษาโรค ที่เกิดกับปลานิล มักประสบปัญหาการเกิตโรคของปลาตลอดทั้งปีก่อให้เกิดความเสียหายทั้งกำไรลตลงหรืออาจ ประสบปัญหาการขาดทุน เนื่องจากการเลี้ยงปลานิลในกระชังเป็นการเลี้ยงแบบหนาแน่น (Intensive farming) ที่ส่งผลให้ปลาเครียดและเกิดโรคได้ง่าย ซึ่งการใช้ยาปฏิชีวนะจึงยังเป็นสิ่งจำเป็นถึงแม้จะมีข้อจำกัด ในการใช้ แต่ในปัจจุบันยังไม่มีวิธีอื่นที่ดีกว่า จากการศึกษา พบว่า เกษตรกรทุกรายมีการใช้ยาปฏิชีวนะตาม คำแนะนำของเพื่อนบ้านและบริษัท ไม่มีการวินิจฉัยรคก่อนใช้ยา มักใช้ยาเกินขนาด และใช้ยาที่ไม่ใด้รับการ รับรองมาตรฐาน ไม่มีการควบคุมเรื่องชนิตและปริมาณาที่ช้ และส่วนใหญ่ไม่ทราบผลกระทบของการใช้ยา อย่างไม่ระมัดระวังต่อผู้บริโภคและสภาพแวดล้อม ชนิดของยาที่มีการใช้มาก ได้แก่ เอนโรฟลอกซาซีน อ๊อกชีเต ตรไซคลิน แอมม็อกซิซีสินซัลฟ-ไตรเมโทรพริม เพนนิชิลลินคลอแรมฟินิคอล (แรมซิน) และเตตรไซคลิน มี เกษตรเพียงร้อยสะ 3.92จากแม่น้ำโขงที่มีการตรวจวัดการตกค้างของยาปฏิชีวนะก่อนจำหน่าย ซึ่งดำเนินการเพื่อ การส่งออก การศึกษาโรคปลานิลโดยเก็บตัวอย่างปลานิลที่มีอาการป่วย โดยแยกเชื้อจาก ตา กล้ามเนื้อ เหงือก และอวัยวะภายใน ได้แก่ ตับ ไต และ ม้ามของปลานิลป่วย จำนวนประมาณ 430 ตัว จากแม่น้ำโขง แม่น้ำชี และแม่น้ำมูล ระหว่งเตือน กรกฎาคม 2555 ถึงเดือน มกราคม 2556 สามารถแยกเชื้อ แบคที่เรียได้ 85 สาย พันธุ์ (Strains) และจัดจำแนกเป็นระดับสกุลได้ 5 สกุล ดังนี้ Streptococcus occus sp.; Staphylococcus sp.. Aeromonas sp., Flavobacterium sp. และ Pseudomonas sp. โดยเชื้อแต่สะสกุลจะมีการแพร่กระจาย ในการก่อโรคแดกต่งกัน นอกจากนี้ยังพบการติดเชื้อแบคที่เรียร่วมกับการติดเชื้อปรสิด ได้แก่ ปลิงใส (Gyrodactrylus sp.) หรือเห็บระฆัง (Tricrotina sp.) อาการที่พบรุนแรงมักพบร่วมกับการติดเชื้อแบคทีเรีย ผลการทตสอบความสามารถของยาปฏิชีวนะ 18 ชนิด ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย5 สกุล ไต้แก่ Aeromonas sp., Flavobacterium sp., Streptococcus sp., Staphylococcus sp., และ Pseudomonas sp. จำนวนสกุลละ 5 ไอโซเลท รวมทั้งสิ้น 25 ไอโซเลท ได้ดีที่สุดคือ Chloramphenicol, Enrofloxacin, Oxytetracycline, Salfadimethoxine, Kanamycin, Trimetroprim และ Gentamycin ตามลำตับ โดยยา Chloramphenico สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อได้ทุกสายพันธุ์ รองลงมาคือ Enro floxacin และ Oxytetracycin ที่สามารถยับยั้งเชื้อได้ถึง 96 และ 80% ตามลำตับ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่า Chloramphenico จะมีประสิทธิภาพสูงที่สุด แต่ยาชนิดนี้เป็นยาที่กรมอนามัยห้ามใช้กับสัตว์เลี้ยง ทุกชนิตที่เลี้ยงไว้เป็นอาหารเนื่องจากอาจมีสารพิษตกค้างในอาหารซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง
บทคัดย่อ (EN): Studies on the situation of an application of antibiotics and the diseases prevention and treatment for tilapia (Oreochromis niloticus) cultured in Mekong, Chi and Moon River in area of 15 provinces including Loei, Nongkhai, Bungkan, Nakornphanom, Mukdahan, Amnart Jaroen, Khon Kean, Maha Sarakham, Roi-et, Yasothon, Burirum, Surin, Srisaket and Ubon Ratchathani during June 2012 to May 2013. There was found that the tilapia caged-culture farmers were all used antibiotics to control of bacterial diseases throughout the year. The caused of diseases were usually occurred in an intensive farming that cause stress and induced infectious disease in fish. Therefore antibiotics application was necessary even though it was shown side effect to human being and environment but we are now no other better way to control this diseases. Most of farmers were not know exactly how to use but use as neighbor and the company staff advices, they used without disease diagnosis that somehow cause wrong treatment or overdose application. Moreover, some used antibiotics was not guarantee and used without types and dose controlling. Most of antibiotics in used including Enrofloxacin, Oxytetracyclin, Amoxycillin, Sulfa-Trimetroprim, Pennicillin Chloramphinicol and Tetracyclin. There were only 3.92% of farmers who examine the residue of antibiotics in fish. Bacterial isolation from 430 infected Tilapia, collected from 3 rivers, was carried out from eyes, muscle, gill, fin and internal organ (liver, kidney and spleen) during July 2012 to January 2013. Eight five strain of bacteria from5 genus was identified including Streptococcus sp., Staphylococcus sp., Aeromonas sp., Flavobacterium sp. and Pseudomonas sp. Parasitic infection was found Gyrodactrylus sp. and Tricrotina sp. which mainly interaction with bacterial infection and seriously in rainy season and water quality strongly fluctuation. The sensitivity test of 25 strains of Streptococcus sp., Staphylococcus sp., Aeromonas sp., Flavobacterium sp. and Pseudomonas sp. to 18 antibiotics, found that Chloramphenicol, Enrofloxacin, Oxytetracycline, Sulfadimethoxine, Kanamycin, Trimetroprim and Gentamycin were highly effectively. Especially, Chloramphenicol, Enrofloxacin, Oxytetracycline was showed 100, 96 and 80% sensitivity to all test strains, unfortunately, Chloramphenicol was non permission to use in fish.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะและการป้องกันรักษาโรคปลานิลที่เลี้ยงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
30 กันยายน 2557
การวินิจฉัยโรคและแนวทางในการป้องกันแก้ไขโรคในลูกปลานิล การพัฒนาผลิตภัณฑ์นักเกตปลาหมักจากปลานิล ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการประกอบอาชีพการเลี้ยงปลาของเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิลในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย สมุนไพรไทยทดแทนยาปฏิชีวนะในการเพราะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม การใช้โปรไบโอติคเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและทดแทนการใช้ยาปฏิชีวนะในอาหารไก่กระทง ผลของการเลี้ยงปลาดุกผสมร่วมกับปลานิลในสวนปาล์มน้ำมัน ผลกระทบการเลี้ยงต่อการกำจัดกลิ่นโคลนในปลานิล ผลของระบบการเลี้ยงต่อการกำจัดกลิ่นโคลนในปลานิล ศึกษาผลการใช้บัวบกทอแทนยาปฏิชีวนะในอาหารเพื่อป้องกันโรคบิดในไก่เนื้อ โรคที่พบในช่วงเก็บรักษาผลลิ้นจี่จากผลที่เก็บเกี่ยวในระยะเวลาต่าง ๆ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก