สืบค้นงานวิจัย
ผลกระทบจากการระบายน้ำทำเทือกนาหว่านน้ำตมที่มีผลต่อคลองชลประทานและการอนุรักษ์ดินและน้ำ ปีที่ 1
นายอุดมเกียรติ เกิดสม - กรมชลประทาน
ชื่อเรื่อง: ผลกระทบจากการระบายน้ำทำเทือกนาหว่านน้ำตมที่มีผลต่อคลองชลประทานและการอนุรักษ์ดินและน้ำ ปีที่ 1
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of drainage water from paddy field to irrigation canal, soil and water consevation (1st year)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นายอุดมเกียรติ เกิดสม
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Mr.Udomkiat Kerdsom
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่: อื่นๆ
บทคัดย่อ: ผลกระทบจากการระบายน้ำทำเทือกนาหว่านน้ำตมที่มีผลต่อคลองชลประทานและการอนุรักษ์ดินและน้ำปีที่ 1 ดำเนินการทดลองที่สถานีทดลองการใช้น้ำชลประทานที่ 8 (นครศรีธรรมราช) อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ระหว่างวันที่ 8 มกราคม 2557 ถึงวันที่ 25 มิถุนายน 2557 รวม168วัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบจากการระบายน้ำทำเทือกนาหว่านน้ำตมที่มีผลต่อการพื้นเป็นของคลองชลประทาน เพื่อศึกษาผลกระทบจากการระบายน้ำทำเทือกนาหว่านน้ำตมที่มีผลต่อการอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อต้องการทราบระยะเวลาที่เหมาะสมในการระบายน้ำหลังทำเทือกนาหว่านน้ำตมน้ำชลประทานที่ใช้ในการทำเทือกสุทธิ 188 มิลลิเมตร ปริมาณน้ำระบายออกเท่ากับ 87 มิลลิเมตรวางแผนทดลองแบบ RC80 (Randomized Complete Block Design) ประกอบด้วย 4 วิธีการทดลอง 4 ซ้ำโดยมีวิธีการทดลองดังนี้วิธีการที่ 1 ระบายน้ำหลังจากทำเทือกแล้วทันทีวิธีการที่ 2 ระบายน้ำหลังจากทำเทือกแล้ว 1 วันวิธีที่ 3 ระบายน้ำหลังจากทำเทือกแล้ว 2 วันและวิธีการที่ 4 ระบายน้ำหลังจากทำเทือกแล้ว 3 วันซึ่งปรากฏผลดังนี้วิธีการทดลองที่ระบายน้ำหลังจากท่าเทือกแล้วทันทีมีผลกระทบต่อการตื้นเขินของคลองขลประทานเนื่องจากน้ำทำเทือกที่ระบายลงสู่คลองชลประทานมีตะกอนแขวนลอยที่ปะปนมากับน้ำระบายท้าเทือกอาจเกิดการทับถมของตะกอนแขวนลอยซึ่งจะส่งผลต่อการตื้นเขินจองคลองชลประทานได้ตลอดทั้งยังส่งผลต่อการอนุรักษ์ดินและน้ำทั้งในด้านการสูญเสียหน้าดินในรูปตะกอนแขวนลอยที่ระบายไปกับน้ำท่าเทือกและคุณภาพน้ำของน้ำห้าเทือกที่ระบายลงสู่คลองชลประทานที่ไม่ค่อยได้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งในทางน้ำชลประทานด้วยดังนั้นระยะเวลาที่เหมาะสมในการระบายน้ำหลังทำเทือกนาหว่านน้ำตมคือวิธีการทดลองที่ระบายน้ำหลังทำเทือกแล้ว 1 วันเหมาะสมที่สุด
บทคัดย่อ (EN): Abstract is in the attached file.
เลขทะเบียนวิจัยกรม: สวพ. 18/2557
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: 5730018
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 305,388
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557
เอกสารแนบ: https://drive.google.com/file/d/1EWEUAy6j5hlSU4QsycgLjni8x9EJoIXo/view?usp=share_link
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: สถานีทดลองการใช้น้ำชลประทานที่ 8 นครศรีธรรมราช
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2557
เผยแพร่โดย: สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา กรมชลประทาน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: Submitted by รดา รุจณรงค์ กรมชลประทาน (rada_ru@rid.go.th) on 2019-03-05T08:22:24Z No. of bitstreams: 2 ผลกระทบจากการระบายน้ำทำเทีอกนาหว่านน้ำตมที่มีผลต่อคลองชลประทาน.pdf: 87335 bytes, checksum: 3d6cdd3f3b602fb94c840a630a62f673 (MD5) license_rdf: 811 bytes, checksum: 53b05846eb6eeb1c33891ab08e36a383 (MD5)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลกระทบจากการระบายน้ำทำเทือกนาหว่านน้ำตมที่มีผลต่อคลองชลประทานและการอนุรักษ์ดินและน้ำ ปีที่ 1
สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา กรมชลประทาน
2557
เอกสารแนบ 1
กรมชลประทาน
ผลกระทบจากการระบายน้ำทำเทือกนาหว่านน้ำตมที่มีผลต่อคลองชลประทานและการอนุรักษ์ดินและน้ำ ปีที่ 2 ผลกระทบจากการระบายน้ำทำเทือกนาหว่านน้ำตมที่มีผลต่อคลองชลประทาน และการอนุรักษ์ดินและน้ำ (ปีที่ 2) วัชพืชร้ายแรงในระบบชลประทาน ความเสียหายจากดินกระจายตัวด้านชลประทานและการสังเกตดินกระจายตัว บทบรรณาธิการ : เนื่องในโอกาสครบรอบ 1 ปี ของวารสารวิชาการเกษตร การจัดทำถังบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจนสำหรับชุมชนริมคลองชลประทาน ความถี่ อัตราและช่วงระยะเวลาการให้น้ำสำหรับอ้อยในเขตชลประทานภาคกลาง โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบสารสนเทศงานทดสอบและวิเคราะห์คุณภาพวัสดุวิศวกรรม ในงานชลประทาน การพัฒนาคลองชลประทานผสมน้ำยางพาราสำหรับใช้ในระบบชลประทานไร่นา การพัฒนาคลองชลประทานผสมน้ำยางพาราสำหรับใช้ในระบบชลประทานไร่นา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก