สืบค้นงานวิจัย
ความชุกชุม ความหลากหลายของสัตว์หน้าดินในแม่น้ำเจ้าพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
อรรถพล โลกิตสถาพร - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: ความชุกชุม ความหลากหลายของสัตว์หน้าดินในแม่น้ำเจ้าพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ชื่อเรื่อง (EN): Abundance and Diversity of Benthic Fauna in the Chao Phraya River, Ayutthaya Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อรรถพล โลกิตสถาพร
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: จุฑาทิพย์ โลกิตสถาพร
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาความชุกชุมและความหลากหลายของสัตว์หน้าคินในแม่น้ำเช้าพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธขา ได้คำเนินการเก็บรวบรวมตัวอย่างโดยใช้เครื่องมือเก็บตัวอย่างสัตว์หน้าคินชนิด Elman dregde ขนาค 225 ตารางเซนติเมตร ในแม่น้ำเจ้าพระขาตั้งแต่ อำเภ0บางบาล จบถึงอำเภอบางไทร จังหวัคพระนครศรีอยุธยา ระยะทางประมาณ 68 กิโลเมตร โคยแบ่งเขตการสำรวจเป็น 3 เขตพื้นที่ คือ 1) เขตอำเภอบางไทร 2) เขตอำเภอบางปะอิน และ 3) เขตอำเภอพระนครศรีอยุธยา แถะอำเภอบางบาล กำหนคจุคสำรวจรวม 10 จุค เก็บข้อมูลทุก 1 2 เคือน ตั้งแต่เคือนมกราคม ถึง เคือนธับวาคม 2543 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลวยค่าคัชนีทางนิเวศวิทยา โครงสร้างประชาคมสัตว์หน้าคิน และการวิเคราะห์ทางสถิติแบบหลายตัวแปร (multivariate analysis) ประกอบด้วยการวิเคราะห์ การจัคกลุ่ม (cluster analysis) และการวิเคราะห์ลำคับ ( ordination mulidimensional scaling, MDS) เพื่อศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงของประชาคมสัตว์หน้าคิน ผลการศึกษาพบว่าสัตว์หน้าคินในแม่น้ำเข้าพระยาเบตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประกอบด้วยกลุ่มสัตว์หน้าคินทั้งหมดรวม 4 ไฟลั่ม ได้แก่ Annelida, Mollusca, Arthropoda และChordata ซึ่งถามารถจำแนกครอบครัวของสัตว์หน้าคินได้ทั้งสิ้น 28 ครอบครัว โจช 3 ไฟลั่มแรกเป็นกลุ่มสัตว์หน้าคินที่เป็นโครงสร้างหลัก ครอบครัวที่มีความหลากหลายของชนิคมากที่สุดที่จุคตำรวชที่ 3 (บริเวณสามแยกบางไทร เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างแม่น้ำน้อยกับแม่น้ำเข้าพระช) เท่ากับ 19 ครอบครัว ปริมาณสัตว์หน้าดินเฉลี่ยตลอดปีของทั้งลำน้ำมีค่าเท่ากับ 419+2386.5 ตัวต่อตารางเมตร สัตว์หน้าดินที่พบเป็นชนิดเค่น คือ Gammanidac ซึ่งพบว่ามีการแพร่กระจายมากในช่วงต้นฤดูหนาว และการวิเคราะห์แบบหลายตัวแปร สามารถแบ่งกลุ่มสัตว์หน้านตามจุดสำรวจได้เป็น 4 กลุ่ม และ กลุ่มของสัตว์หน้าดินตามเดือนที่ตำรวงเป็น 3 กลุ่ม ส่วนคุณภาพน้ำของแม่น้ำเจ้าพระยาในภาพรวมจัดอยู่ในเกณฑ์พอใช้ถึงดี
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2545
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2545
เอกสารแนบ: http://inlandfisheries.go.th/research/details.php?id=98
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความชุกชุม ความหลากหลายของสัตว์หน้าดินในแม่น้ำเจ้าพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2545
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
เอกสารแนบ 3
ความชุกชุมและความหลากหลายของสัตว์หน้าดินในแม่น้ำเจ้าพระยา ความชุกชุมและความหลากหลายของสัตว์หน้าดินในแม่น้ำป่าสักจังหวัดสระบุรี ความชุกชุม และความหลากหลายของสัตว์หน้าดินในแม่น้ำจันทบุรี ความชุกชุมและความหลากหลายของสัตว์หน้าดิน ในคลองพระองค์เจ้าไชยานุชิต ความหลากหลาย ความชุกชุม และการแพร่กระจายของสัตว์หน้าดินในบึงโขงหลง จังหวัดหนองคาย ความชุกชุมและความหลากหลายของสัตว์หน้าดินในแม่น้ำป่าสักตอนล่าง ความหลากหลาย ความชุกชุม การแพร่กระจายของสัตว์หน้าดินคลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา ความหลากหลายของเชื้อราจากดิน ซากพืชและการนำไปใช้ประโยชน์ ความชุกชุมและความหลากหลายของสัตว์หน้าดินในอ่างเก็บน้ำเขื่อนประแสร์ จังหวัดระยอง การศึกษาความหลากหลายของสัตว์หน้าดินกับคุณภาพน้ำในระบบนิเวศแม่น้ำชี จังหวัดมหาสารคาม

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก