สืบค้นงานวิจัย
การรักษาคุณภาพของลองกองพร้อมบริโภคด้วยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (ระยะที่ 2)
อินทิรา ลิจันทร์พร - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ชื่อเรื่อง: การรักษาคุณภาพของลองกองพร้อมบริโภคด้วยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (ระยะที่ 2)
ชื่อเรื่อง (EN): Maintaining quality of minimally processed Longkong with postharvest technology
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อินทิรา ลิจันทร์พร
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ชัยรัตน์ เตชวุฒิพร
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: จุลินทรีย์ ลองกองพร้อมบริโภคเป็นการนำผลลองกองมาผ่านขบวนการแปรรูป โดยการปอก เปลือก ส่งผลให้เนื้อเยื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาอย่างรวดเร็ว ลองกองพร้อมบริโภค จะเกิดการเสื่อมสภาพอย่างรวดเร็ว และถูกชักนำให้มือัตราการหายใจ การผลิตเอทิลื่น การ เปลี่ยนแปลงทางเดมีอื่นๆขึ้น เช่น การเกิดสีน้ำตาล (Browning) และการปนเปื้อนของ การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นข้อจำกัดในการวางจำหน่ายลองกองพร้อมบริโภค ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมี 2 วัตถุประสงค์ คือ วัตถุประสงค์แรกเพื่อตึกษาผลของระยะเวลาการจุ่มและ ความเข้มข้นของแดลเซี่ยมซิตรทต่อคุณภาพของลองกองพร้อมบริโภค โดยการนำผลลองกอง มาปลอกเปลือกและจุ่มด้วยแดลเซียมชิเตรทที่ความเข้มขันร้อยละ 0 1 และ 2 ระยะเวลาใน การจุ่ม 5 และ 10 นาที เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส พบว่าการจุ่มผลลองกองพร้อม บริโภคในสารละลายแคลเซียมซิเตรที่ความเข้มข้นร้อยละ 1 และ 2 ระยะเวลา 5 นาที ช่วยลด อัตราการหายใจ การผลิตเอทิลื่น การสูญเสียน้ำหนัก การเกิดสีน้ำตาล อาการ piting นผล ลองกองพร้อมบริโภค ผลลองกองพร้อมบริโภคมีการยอมรับโดยรวมจากผู้บริโภคลตลงตลอด อายุการเก็บรักษา โดยพบว่าการจุ่มสารละลายแดลเซียมซิเตรทที่ระยะเวลา 5 นาที มีการ ยอมรับจากผู้บริโภคมากกว่าที่ระยะเวลา 10 นาที เมื่อเก็บไว้ 2 วัน อย่างไรก็ตามระยะเวลาใน การจุ่มและความเข้มข้นข้นของสารละลายแดลเซียมซิเตรท ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสี ปริมาณกรตที่ไตเตรทได้ และปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ในผลลองกองพร้อมบริโภค วัตถุประสงค์ที่ 2 เพื่อศึกษาผลของสภา าพบรรยากาศคัดแปลงต่อคุณภาพของลองกองพร้อม บริโภค โดยนำผลลองกองพร้อมบริโภคบรรจุในภาชนะบรรจุ 4 ชนิด ได้แก่ ถุงพลาสติก (gusseted bag) กล่องพลาสติก (clamshell) าดโฟมหุ้มด้วยฟิล์ม Polyvinyichloride (PVC) และถาดโฟมหุ้มด้วยฟิล์ม Low density polyethylene (LDPE) เปรียบเทียบกับผลลองกอง พร้อมบริโภคที่ไม่บรรจุภาชนะ(ชุดดวบคุม) เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส พบว่าการ เก็บรักษาผลลองกองพร้อมบริโภคในสภาพบรรยากาศดัดแปลงมีการสูญเสียน้ำหนักต่ำกว่าชุด ดวบคุม โดยเฉพาะผลลองกองพร้อมบริโภคบรรจุในถุงพลาสติก (gusseted bag) ชะลอการ สูญเสี่ยน้ำหนักดีกว่าสภาพบรรยากาศดัดแปลงอื่น ๆ ผลลองกองพร้อมบริโภคที่วางในถาดโฟม หุ้มตัวยฟิล์ม LDPE สามารถชะลออัตราการหายจ การผลิตเอทิลื่น การเกิดสีน้ำตาล และ อาการ pitting ผลลองกองพร้อมบริโภคในชุดควบคุม ผู้บริโภคให้การยอมรับที่ระยะเวลา 2 วัน เป็นผลมาจากอาการ piing ที่เกิดขึ้นจนไม่สามารถวางจำหน่ายได้ ในขณะที่ผลลองกองพร้อม บริโภคที่บรรจุในถุงพลาสติก(gusseted bag) และกล่องพลาสติก (clamshell) ผู้บริโภคให้การ ยอมรับที่ระยะเวลา 4 วัน ส่วนผลลองกองพร้อมบริโภดที่บรรจุถาดโฟมหุ้มด้วยฟิล์ม PVC และ LDPE ผู้บริโภคให้การยอมรับนานสุด 6 วัน อย่างไรก็ตามสภาพบรรยากาศตัดแปลงไม่มีผลต่อ ปริมาณกรตที่ไตเตรทได้ ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ และการเปลี่ยนแปลงสี
บทคัดย่อ (EN): Minimally proce cessed longkong is fruit proce cessed by peeling so that the tissue physiological changes rapidly. Minimally processed longkong showed quickened senescence and induced respiration rate, ethylene production and induced other chemical changes such as browning and contamination of microorganism. This drastically limits the shelf-life of minimally processed longkong. The aim of this work had two objectives; the first objective was to study the effect of varied periods of immersion and concentration of calcium citrate on quality of minimally processed longkong. Longkongs were peeled and immersed in 0, 1 and 2% calcium citrate for 5 and 10 minutes and then stored at 4*C. The dipping with 1 and 2% calcium citrate for 5 minutes reduced respiration rate, ethylene production, weight loss, browning and pitting symptoms of minimally processed longkong. Longkong processing showed the overall acceptability level decreased throughout the storage period, calcium citrate treatment for 5 min had higher overall acceptability level than treatment for 10 minutes at 2 days. However, the immersion time and the concentration of calcium citrate did not affect the color changes, titratable acidity and total soluble solids in minimally processed longkong. The second objective was to study the effect of modified atmosphere on the quality of minimally processed longkong. The treated fruit was packaged four difference ways: plastic bags (gusseted bag), plastic (clamshell), foam trays wrapped with polyvinylchloride film (PVC) and foam trays and wrapped with low density polyethylene film (LDPE). The longkong was then compared with non- packaged (control) that was stored at 4C. The processed fruit packed in modified atmosphere had lower weight loss than the control; minimally processed longkong packed in plastic bags (gusseted bag) delayed weight loss better than other modified atmospheres. Longkong packaged in foam trays wrapped with LDPE film showed delayed respiration rate, ethylene production, browning and pitting symptoms. The overall acceptability level for the control after two days of storage resulted in pitting unsuitable for market distribution. The longkong samples packed with plastic bags (gusseted bag) and packed with plastic (clamshell) were consumer acceptable after a period of 4 days. Modified atmosphere of fruit packed in foam trays covered with PVC film and foam trays with LDPE showed the highest overall acceptance scores after six days of storage. However, modified atmosphere did not affect the titratable acidity, total soluble solids and color changes of minimally processed longkong.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การรักษาคุณภาพของลองกองพร้อมบริโภคด้วยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (ระยะที่ 2)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
30 กันยายน 2556
การรักษาคุณภาพของลองกองพร้อมบริโภคด้วยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การรักษาคุณภาพของลองกองพร้อมบริโภคด้วยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การประยุกต์ใช้ Ethanol Vapor Releasing Pad ในการควบคุมคุณภาพ หลังการเก็บเกี่ยวของผลลองกอง ผลของสารเคลือบผิวแคลเซียมคาร์บอเนตนาโนพาทิเคิลร่วมกับสารสกัดจากเปลือกลองกองต่อคุณภาพและการเกิดสีน้ำตาลของผลลองกองหลังการเก็บเกี่ยว ผลของสารต้านการเกิดสีน้ำตาล ต่อคุณภาพของผลลองกองหลังการเก็บเกี่ยว การใช้สารแคลเซียมในช่วงก่อนการเก็บเกี่ยวเพื่อเพิ่มคุณภาพและการเก็บรักษาของผลลองกอง การรักษาคุณภาพของข้าวกล้องหลังการเก็บเกี่ยวโดยการใช้เทคโนโลยีการฉายรังสีแกมมาเพื่อความมั่นคงทางอาหาร โครงการวิจัยการพัฒนาและทดสอบเทคโนโลยีการผลิตลองกองคุณภาพ แผนงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อลดความสูญเสียคุณภาพข้าว การใช้เทคโนโลยีการผลิตลองกองของสมาชิกกลุ่มปรับปรุงคุณภาพไม้ผลจังหวัดยะลา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก