สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาผลการออกกำลังกายด้วยฤๅษีดัดตนสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ
ภักศจีภรณ์ ขันทอง - กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ชื่อเรื่อง: การศึกษาผลการออกกำลังกายด้วยฤๅษีดัดตนสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ
ชื่อเรื่อง (EN): A study on Effect of Rueseedutton to Physical Fitness of Elderly
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภักศจีภรณ์ ขันทอง
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): N/A
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): N/A
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): improvements
หมวดหมู่:
หมวดหมู่ AGRIS:
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการออกกาลังกายด้วยฤาษีดัดตนต่อสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ ทาการศึกษาในผู้สูงอายุตาบลหนองไหล อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 24 ราย การศึกษาเป็นแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อน-หลังการทดลอง อาสาสมัครผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีการออกกาลังกายด้วยท่าฤๅษีดัดตนจานวน 15 ท่า ความถี่ 3 ครั้ง/สัปดาห์ เป็นระยะเวลา 3 เดือน ผลการศึกษาด้านสมรรถภาพทางกายพบว่าความจุปอด การยืดหยุ่นของข้อสะโพก ความอ่อนตัวของข้อไหล่ในการยกแขนไปข้างหน้า ความอ่อนตัวของสะโพกในการงอและการเหยียด การทรงตัว และค่าความดันโลหิตมีการเปลี่ยนแปลงดีขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติหลังจากการออกกาลังกายด้วยฤาษีดัดตน ค่าดัชนีมวลกาย ความหนาไขมันใต้ผิวหนัง และเปอร์เซนต์กล้ามเนื้อในร่างกาย มีแนวโน้มดีขึ้นแต่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ผลการศึกษาคุณภาพชีวิตพบว่าคุณภาพชีวิตโดยรวมของอาสาสมัครเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติหลังการออกกาลังกายเป็นเวลา 3 เดือน การศึกษาปริมาณตัวชี้วัดทางชีวภาพของภาวะออกซิเดชันพบว่า 8-oxodG และ malondialdehyde ในพลาสมาของผู้สูงอายุมีปริมาณลดลงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติหลังการออกกาลังกายด้วยฤๅษีดัดตนเป็นระยะเวลา 3 เดือน ในขณะที่ปริมาณกิจกรรมของเอนไซม์ต้านออกซิเดชันในพลาสมาผู้สูงอายุ ได้แก่ superoxide dismutase, catalase และ glutathione peroxidase เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติหลังการออกกาลังกายเป็นระยะเวลา 3 เดือน ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการออกกำลังด้วยฤาษีดัดตนสามารถเพิ่มสมรรถภาพทางกายทั้งในระดับกายวิภาคและสรีระวิทยาในผู้สูงอายุ ผู้วิจัยเสนอแนะว่าควรมีการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีการออกกำลังกายด้วยฤาษีดัดตนอย่างต่อเนื่องเพื่อชะลอหรือยับยั้งความเสื่อมของร่างกาย เพื่อลดความเสี่ยงการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากความเสื่อม เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง เป็นต้น และเพื่อการเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ลดภาระของผู้ดูแล และลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขของประเทศต่อไป
บทคัดย่อ (EN): The purpose of this study was to study the effect of exercise with hermit contortion on physical performance in the elderly. This study was conducted among 24 elderly people in Nong Lai Sub-district, Muang District, Ubon Ratchathani Province. The study was a single-group, pre-post-test measurement. Elderly volunteers who participated in the project performed exercise with 15 hermit poses at a frequency of 3 times/week for a period of 3 months. flexibility of the hip joint Shoulder weakness in raising the arm forward There were statistically significant improvements in hip flexibility in flexion and extension, balance, and blood pressure after hermit exercise. BMI thickness of subcutaneous fat and the percentage of muscles in the body There was a trend to improve, but there was no statistically significant difference. The quality of life study found that the overall quality of life of the subjects was statistically significantly improved after 3 months of physical activity. A biomarker of oxidative stress found 8-oxodG. and malondialdehyde In the elderly plasma there was a statistically significant decrease after 3 months of exercise with rhizome, while the activity of the antioxidative enzymes in the elderly plasma was superoxide dismutase, catalase, and superoxide. Statistically significant increases in glutathione peroxidase were obtained after 3 months of exercise. the elderly The researcher suggested that the elderly should be encouraged to exercise with hermit contortion continuously to slow or inhibit the deterioration of the body. To reduce the risk of illness caused by degenerative diseases such as diabetes, high blood pressure, cancer, etc., and to increase the quality of life of the elderly. reduce the burden of caregivers and reduce the country's public health expenditures
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับชาติ:
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: ม.ป.ป.
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: ม.ป.ป.
เอกสารแนบ: http://ttdkl.dtam.moph.go.th/Module7/frmc_home_research_show.aspx?r_id=Mzk0
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาผลการออกกำลังกายด้วยฤๅษีดัดตนสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ
กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
เอกสารแนบ 1
การพัฒนารูปแบบการออกกำลังกายด้วยยางยึดประยุทต์สำหรับผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรัง กระบวนการพัฒนาการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างสุขภาพและสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุอำเภอเมืองบุรีรัมย์ การควบคุมน้ำหนักและไขมันในนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินปกติ โดยวิธีออกกำลังกายแบบแอโรบิคด๊านซ์ ผลของท่าทางการวางเท้าขณะออกกำลังกายท่าแพลงค์ต่อคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อหน้าท้องและรยางค์ล่าง การพัฒนาผู้นำกิจกรรมทางกายโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบจิตตปัญญาศึกษาเพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจังหวัดเลย อย่างยั่งยืน โภชนาการที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ การตอบสนองทางสรีรวิทยาจากการบริหารกายด้วยฤาษีดัดตนในผู้หญิงที่มีสุขภาพดี ผลของการฝึกไทชิโดยเน้นการหายใจต่อสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ : โครงการวิจัย ผลของการประยุกต์แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการออกกำลังกายด้วยยางยืดและตารางเก้าช่องต่อสมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและความผาสุกของผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก