สืบค้นงานวิจัย
การวิจัยและพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและรักษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว
อัญชลี ประเสริฐศักดิ์, พรทิพย์ ถาวงค์, สุรพล จัตุพร, อรสา วงษ์เกษม, สมมาตร จงวนิช - กรมการข้าว
ชื่อเรื่อง: การวิจัยและพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและรักษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว
ชื่อเรื่อง (EN): Research and Development on Efficiency of Rice Seed Production and Seed Longevity Maintenance
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: แผนงานวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวทั้งในแต่ละชั้นของเมล็ด พันธุ์และกลุ่มเกษตรกร ให้ได้คุณภาพและปริมาณมากขึ้น ตลอดจนหาวิธีการรักษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ให้คง คุณภาพตามมาตรฐาน ประกอบด้วย 4 โครงการวิจัย คือ (1) อิทธิพลของสภาพแวดล้อมต่อความแปรปรวน ของลักษณะประจ าพันธุ์ (2) การลดการปนของข้าวเจ้าในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวเหนียว (3) การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของกลุ่มเกษตรกรแบบมีส่วนร่วม และ (4) การชะลอการเสื่อมคุณภาพ ของเมล็ดพันธุ์ข้าว การศึกษาอิทธิพลของวันปลูกต่อความแปรปรวนของลักษณะประจ าพันธุ์ของข้าวไวต่อช่วงแสง และ ไม่ไวต่อช่วงบางพันธุ์ ด าเนินการในศูนย์วิจัยข้าว วางแผนการทดลองแบบ Split plot in RCB มี 3 ซ้ า พันธุ์ ข้าวไวต่อช่วงแสงจ านวน 4 พันธุ์ได้แก่ ขาวดอกมะลิ 105 กข45 กข6 และ กข12 ประกอบด้วย 5 ระยะช่วง ปลูก ได้แก่ พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม และ กันยายน โดยตกกล้าทุกวันที่ 5 และปักด าทุก วันที่ 25 ของเดือน พันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง จ านวน 4 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31 และกข41 ประกอบด้วย 4 ช่วงปลูก ได้แก่ 5 มกราคม 5 เมษายน 5 กรกฎาคม และ 5 ตุลาคม ปี2554- 2556 ใช้เมล็ดพันธุ์คัดจากแหล่งเดียวกัน การปักด าใช้ต้นกล้าอายุ 25 วัน ปักด าจ านวน 1 ต้นต่อกอ และใช้ ระยะปักด า 25x25 เซนติเมตร เก็บบันทึกข้อมูล ลักษณะประจ าพันธุ์บางลักษณะที่ส าคัญ ได้แก่ ความสูง วัน ออกดอก อายุเก็บเกี่ยว ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิต ระยะพักตัว น้ าหนัก ข้าวเปลือก 1,000 เมล็ด ขนาดเมล็ด อายุการเก็บรักษา และสภาพอากาศ พบว่า วันปลูกมีผลต่อลักษณะความสูง วันออกดอก อายุ เก็บเกี่ยว ผลผลิต น้ าหนัก 1,000 เมล็ด ขนาดเมล็ด และอายุการเก็บรักษาของข้าวพันธุ์ไวต่อช่วงแสง และมี ผลให้ลักษณะประจ าพันธุ์ของข้าวทั้ง 4 พันธุ์มีความแปรปรวน วันปลูกที่เหมาะสมส าหรับปลูกข้าวทั้ง 4 พันธุ์ คือเดือน มิถุนายนถึงกรกฎาคม วันปลูกหลังจากนี้ผลผลิตจะลดลง ความยาวช่อลดลง เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ สูงขึ้น ค่าเฉลี่ยน้ าหนัก 1000 เมล็ด และขนาดเมล็ดลดลง ดังนั้นในการก าหนดลักษณะประจ าพันธุ์บางอย่างที่ จัดเป็นมาตรฐานพันธุ์ ของข้าวไวต่อช่วงแสง ควรก าหนดวันปลูกที่ชัดเจน เพื่อประกอบค าแนะน าที่ถูกต้อง ส าหรับ กข45 แม้จะเป็นพันธุ์แนะน าในพื้นที่ข้าวขึ้นน้ า ข้าวทนน้ าลึกในเขตปราจีนบุรีและพื้นที่ใกล้เคียง แต่ สามารถปลูกได้ดีในพื้นที่อื่นเช่นกัน การปลูกพันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสงในเดือนต่างๆ ที่มีอุณหภูมิและช่วงแสง ที่ต่างกัน จะมีผลต่อลักษณะประจ าพันธุ์ ทั้งความสูง วันออกดอก น้ าหนักเมล็ด ขนาดเมล็ด ไม่มากนัก อย่างไรก็ตามข้าวที่ปลูกในเดือนเมษายน ให้ผลผลิตสูงที่สุด ความยาวช่อมากที่สุด และมีแนวโน้มให้ เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบน้อยที่สุด การลดการปนของข้าวเจ้าในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวเหนียว ด าเนินการศึกษา (1) การเกิดข้าวเจ้าใน เมล็ดพันธุ์ข้าวเหนียวพันธุ์ กข 6 (2) าระดับการติดสีของข้าวเหนียวพันธุ์กข 6 หลังจากการผสมข้ามกับขาว ดอกมะลิ 105 (3) ระยะห่างที่เหมาะสมในการป้องกันการผสมข้ามระหว่างข้าวเจ้าและข้าวเหนียว (4) การ พัฒนาวิธีการตรวจสอบเมล็ดพันธุ์คัดข้าวเหนียวบริสุทธิ์ และ (5) ศึกษาระดับการปนของข้าวเจ้าในแปลงข้าว เหนียวหลังจากใช้เมล็ดพันธุ์คัดบริสุทธิ์ พบว่า สาเหตุในการเกิดข้าวเจ้าปนในข้าวเหนียว กข6 เกิดจากการ ผสมข้ามกับขาวดอกมะลิ 105 ส่วนการแยกข้าวเจ้าปนจากข้าวเหนียวให้ชัดเจนต้องย้อมด้วยสารละลาย ii ไอโอดีนเข้มข้น 0.1 เปอร์เซ็นต์ การปลูกข้าวเหนียว กข6 ต้องมีระยะห่างจากข้าวเจ้าขาวดอกมะลิ 105 อย่าง น้อย 3 เมตร เพื่อป้องกันการผสมข้าม ซึ่งส่งผลให้เกิดข้าวเจ้าปนมากขึ้น วิธีการตรวจสอบรวงข้าวเหนียวก่อน การตกกล้าข้าวพันธุ์คัด นอกจากการบดโคน กลางและปลายรวง หรือการสุ่มกะเทาะ ควรใช้วิธีการย้อมด้วย สารละลายไอโอดีนร่วมด้วย การผลิตเมล็ดพันธุ์จากพันธุ์คัด พันธุ์หลัก และพันธุ์ขยาย หากไม่มีการควบคุมจะ ท าให้เกิดข้าวเจ้าปน เมล็ดพันธุ์ไม่ผ่านมาตรฐาน ต้องเปลี่ยนพันธุ์ทุกปี การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของกลุ่มเกษตรกรแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 3 กรรมวิธีคือ วิธีการผลิตเมล็ดพันธุ์ที่ผ่านการมีส่วนร่วมของกลุ่มเกษตรกร วิธีการผลิตตามค าแนะน าของ กรมการข้าว และวิธีการผลิตที่เกษตรกรปฏิบัติอยู่เดิม พบว่า วิธีการผลิตเมล็ดพันธุ์ที่ผ่านการมีส่วนร่วมของ กลุ่มเกษตรกรที่ให้คุณภาพเมล็ดพันธุ์ทัดเทียมกับวิธีการผลิตตามค าแนะน าของกรมการข้าวและมีต้นทุนไม่สูง กว่าวิธีการผลิตที่เกษตรกรปฏิบัติอยู่เดิม เหมาะที่จะน าไปขยายผลให้เกษตรกรต่อไป ด้านการชะลอการเสื่อมคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าว พบว่าการใช้เม็ดดูดความชื้นซีโอไลท์ (drying bead) สามารถลดความชื้นเมล็ดพันธุ์ข้าวให้ต่ ากว่า 6% เป็นทางเลือกหนึ่งในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวแบบ ประหยัดพลังงาน นอกจากนี้การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวแบบปิดสนิท ใน super bag สามารถเก็บรักษาเมล็ด พันธุ์ได้นาน 24 เดือนในสภาพที่ไม่ควบคุมอุณหภูมิ การใช้ว่านน้ าคลุกเมล็ดพันธุ์ข้าวมีแนวโน้มในการป้องกัน ผีเสื้อข้าวเปลือกและมอดข้าวเปลือกได้ดี หางไหลมีแนวโน้มในการป้องกันการเข้าท าลายของมอดแป้งได้ ในขณะที่การใช้สารฟอสฟีนรมเมล็ดพันธุ์ข้าว พบว่าสามารถป้องกันผีเสื้อข้าวเปลือก มอดข้าวเปลือก มอดแป้ง และด้วงงวงข้าวได้เพียงแค่ช่วงระยะเวลาหนึ่ง ในการท านายอายุการเก็บรักษา พบว่าช่วงของอุณหภูมิและ ระยะเวลาที่เหมาะสม ส าหรับประเมินอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวภายใต้สภาพแวดล้อมของภาคใต้ คือ อุณหภูมิที่ 44 และ46 0 ซ นาน 96 ชม. สามารถน ามาใช้เร่งอายุเพื่อประเมินคุณภาพเมล็ดพันธุ์ได้ โดยเฉพาะที่ อุณหภูมิ 46 0 ซ นาน 96 ชม. น่าจะใช้ท านายค่าความงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 ที่เก็บรักษาใน ถุงพลาสติกสานภายใต้สภาพแวดล้อมของภาคใต้ได้นาน 7 เดือน ค าส าคัญ: เมล็ดพันธุ์ข้าว ลักษณะประจ าพันธุ์ข้าว วันปลูก การผลิตเมล็ดพันธุ์ คุณภาพเมล็ดพันธุ์เม็ดดูดความชื้น การ เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์สารรมฟอสฟีน พืชสมุนไพร แมลงศัตรูในโรงเก็บ การเร่งอาย
บทคัดย่อ (EN): This program aimed to increase the efficiency of rice seed production in each class and farmers’ field including increase the storability of rice seed. This composed of 4 main projects (1) Influence of Environment on Variation of Varietal Characterics, (2) Research and Development on Glutinous Rice Seed Production, (3) Increasing Efficiency for Rice Seed Production by Participated Farmer Activity, and (4) Delaying on Rice Seed Quality Deterioration. Studies on the influence effect of planting dates on some characteristic variation of photoperiod sensitive and non photoperiod sensitive. The experiment was conducted in Rice Research Centers between 2011-2013. Split Plot Design in Randomized Complete Block Design with 3 replications was used. Four photoperiod sensitive rice varieties; Khao Dawk Mali 105, RD45, RD6 and RD12 were used in the experiments with 5 planting time; May, June, July, August and September. Four non photoperiod sensitive varieties, Pathumthani 1, PSL2, RD31 and RD41 were used in the experiments with 4 planting times which were January, April, July and August. The results showed that planting date were significantly affected plant height, days to heading, harvesting date, grain yield, 1,000 grain weight and grain size of photoperiod sensitive rice variety. It could be concluded that the optimum planting dates for these 4 varieties were during June-July. Moreover, RD45 could grow not only in deep water area but also could grow well in other part of country. Planting non photoperiod varieties at different planting dates did not show much variation on characteristics. However, planting such varieties in April showed the highest yield, longer panicle length and higher unfilled grain compared to other planting time. The study on glutinous rice seed production showed that the cause of non glutinous contamination in RD6 was the out crossing of KDML105. The 0.1% iodine test was the best way to separate glutinous and non glutinous rice seed. The minimum isolation distances of RD6 crop should not be less than 3 meters from KDML105. The purity testing for glutinous rice panicle was the combination of threshing sampling and iodine test. The production of Breeder seed, Foundation seed and stock seed should be well careful management to produce good quality seed. Rice Seed Production by Participated Farmer Activity showed high quality seed the same as recommended method by Rice Department and lower cost of input. This farmer participated method could Increasing efficiency for rice seed production of the farmers. iv The studies on delaying of Rice Seed Quality Deterioration showed that the potential of zeolite drying beads could dry rice seeds to 6 % seed moisture content. This could be an alternative way to storage the seeds with energy saving. Moreover, hermetic seed storage in super bags provided by IRRI which prevents oxygen and moisture movement between the outside atmosphere and the seed, could stored rice seeds higher than 24 months with standard germination (more 80%). No insects were detected in these super bag treatments. Hence, hermetic storage can be used to maintain the viability of rice seed reserves against future disasters and to extend the longevity of rice germplasm without storage at low temperature. Storage pests are one of the main causes of the seed quality deterioration. The results showed that the rice seed with myrtle grass powder trend to reduced the amount of lesser grain borer and grain moth than other plant powder while the rice seed with white derris trend to reduced the amount of red flour beetle. There was no relationship between phosphine fumigant and plant pesticide powder. Phosphine fumigant with rice seed could protect grain borer (Rhyzopertha dominica) grain moth (Sitotroga cerealella) red flour beetle (Tribolium castaneum) and rice weevil (Sitophilus oryzae) for a short period. The suitable time and temperature of accelerate aging of rice seed were 44๐ C and 46๐ C for 96 hr. This accelerate aging with 46๐ C for 96 hr. could possibly use to predict storability of Pathumthani 1 stored for 7 months under southern region of Thailand. Keywords: rice seed, varietal characteristic of rice, planting dates, seed productions, seed quality, seed storage, drying bead, hermetic storage, phosphine fumigant, plant pesticide, storage pests and accelerated aging
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมการข้าว
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิจัยและพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและรักษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว
กรมการข้าว
30 กันยายน 2556
กรมการข้าว
การพัฒนารูปแบบการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโดยเกษตรกร คุณภาพข้าวสุกจากการผสมข้าว กข 23 และ ชัยนาท 1 ในขาวดอกมะลิ 105 ปัจจัยในการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ที่มีผลกระทบต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว แป้งข้าวก่ำดัดแปรและผลิตภัณฑ์จากข้าวก่ำเพื่อประโยชน์ด้านสุขภาพ เชิงป้องกัน ผลของการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์แบบปิดสนิทใน super bag ต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว การเพิ่มประสิทธิภาพการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว การวิจัยและพัฒนาการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสม ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร ผลของการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์แบบปิดสนิทใน Super Bag ต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว การศึกษาประสิทธิภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว จังหวัดชัยนาท

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก