สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาการเจริญเติบโตของไก่สาวและค่าทางพันธุกรรมลักษณะการให้ผลผลิตไข่ในแม่ไก่เบตง
ครวญ บัวคีรี - มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ชื่อเรื่อง: การศึกษาการเจริญเติบโตของไก่สาวและค่าทางพันธุกรรมลักษณะการให้ผลผลิตไข่ในแม่ไก่เบตง
ชื่อเรื่อง (EN): A Study on Growth of Pullets and Genetic Parameter of Egg Production in Batong Hens
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ครวญ บัวคีรี
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลของระดับ โปรตีน และพลังงานต่อการเจริญเติบ โต และพัฒนาการทางการสืบพันธุ์ของไก่เบตงเพศเมียระยะรุ่น และ 2) ทดสอบฟังก์ชั่นการให้ผลผลิตไข่ที่ เหมาะสมเพื่อใช้ในการ ประมาณกราฟการ ให้ผลผลิต ไข่ในไก่เบตง โดยแบ่งออกเป็น 2 การทคลอง ประกอบคั่วย การทคลองที่ 1 ผลของระดับ โปรตีนและพลังงานต่อการเจริญเดิบโตของไก่เบตงเพศเมียระยะรุ่น โดยใช้ไก่เบตงเพศเมี่ยอายุ 12 สัปดาห์ จำนวน 180 ตัว โดยวางแผนการทคลอง 2 x 3 แฟคทอเรียล ใน แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (2 x 3 factorial in completely randomized design) โดยมี 2 ปัจจัยหลัก ได้แก่ ระดับพลังงานใช้ประ โซชน์ได้ 2 ระดับ (2,850 และ 3,000 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมอาหาร) และระดับ โปรตื่น 3 ระดับ (14, 16 และ 18 เปอร์เซ็นต์ ) จำนวนกลุ่มละ 3 ซ้ำ ๆละ 10 ตัว ผลการทคลองพบว่าไม่มี อันตรกิริยาร่วมของโปรตีนและพลังานต่อน้ำหนักตัวเฉถี่ย อัตราการเจริญเดิบ โต ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหาร น้ำหนักรังไข่ น้ำหนักท่อนำไข่ และความยาวท่อนำไข่ ของไก่เบตงเพศเมีย (p 20.05) สำหรับระดับพลังงน ในอาหารที่ 2850 และ 3,000 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัมอาหาร ไม่ส่งผลให้ น้ำหนักตัวเฉลี่ยและปริมาณอาหารที่กินของไก่เบตงเพศเมียแตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) แต่มีผลทำให้ อัตราการเจริญเติบโตและประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารตลอดการทคลองของไก่เบตงเพศเมียกลุ่มที่ ได้รับ อาหารที่มีพลังงาน 2,850 กิโลแคลอรี่ กิโลกรัมอาหาร ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารที่มีพลังงาน 3,000 กิโลแคลอ รี่/กิโลกรัมอาหาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05) และยังพบว่าผลของอาหารที่ ระดับโปรตีน 16 เปอร์เซ็นต์ และพลังงาน 2.850 กิโลแคลรี่ กิโลกรัมอาหาร มีผลให้ไก่มีจำนวนกระเปาะไข่ขนาดเล็ก มากกว่าทุกกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05) การทดลองที่ 2 การทดสอบฟังก์ชั่นการให้ผลผลิตไข่ที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการประมาณกร าฟการ ให้ผลผลิตไข่ในไก่เบตง ใช้ข้อมูลการ ให้ผลผลิตไข่ในไก่เบตง อายุระหว่าง 21 - 60 สัปดาห์ ที่เลี้ยงบนกรง ดับ ทำการทคสอบฟังก์ชั่นการให้ผลผลิตไข่ที่เหมาะสม 3 ฟังก์ชั่น ประกอบด้วย LcGendre function, Wilmink function และ Koop and Grossman function พบว่า ค่ำความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (MSE) ของ LeGendre function, Wilmink function และ Koop and Grossman function มีค่าใกล้เคียงกัน (48.0419, 48.1228 และ 48.0916) อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์การตัดสิน ใจ (R) พบว่า ฟังก์ชั่นการให้ผล ผลิตของ Koop and Grossman function มีค่าสูงสุด (0.683) ดังนั้นฟังก์ชั่นการให้ผลผลิตไข่ของ Koop and Grossman function จึงมีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ในการประมาณกราฟการให้ผลผลิตไข่ของไก่เบตง
บทคัดย่อ (EN): The objectives of this research were to study 1) the effect of dietary protein and metabolizable energy levels on growth performance and reproductive system development in Betong hens and 2) estimation egg curve in Betong hen. The study were consisted of 2 experiments. Experiment 1: The effects of dietary protein and metabolizable energy on growth performance of female Betong chickens.The study was conducted to investigate the effects of dietary protein and metabolizable energy level on body weight, weight gain, feed intake, feed conversion ratio, ovary weight, oviduct length, oviduct weight and number of ovarian follicle in 180 female Betong chickens. The 12 - week old hens were assigned to the 2 x 3 factorial experiment with a completely randomized design. The chicken were fed ad libitum with two dietary energy levels (2,850 and 3,000 ME Kcal/Kg.) and three dietary protein levels (14, 16 and 18% CP) combinations in each factor for 12 - 20 weeks of age. There was no significant interaction effect between protein and energy levels on growth performance, ovary weight, oviduct length and oviduct weight of pullets (p>0.05). The weight gain and feed conversion ratio of pullets received diet containing 2,850 ME Kcalkg. were better than those received diet containing 3,000 ME Kcalkg. (p<0.05). However, the more number of small ovarian follicles (? <2 mm.) was found in the hens received diet containing 16% dietary protein and 2,850 ME Kcalkg (p<0.05). Experiment 2, The estimation of egg curve of Betong hens . Data obtained from individual egg production of 136 Betong hens age between 21 - 60 weeks was analysed using three non-linear egg function (LeGendre function, Wilmink function and Koop and Grossman function) to compare the result in this study. The mean square error from the LeGendre function, Wilmink function and Koop and Grossman function was similar, 48.0419, 48.1228 and 48.0916 respectively. However, the coefficient determination of Koop and Grossman function (0.683) was higest than LeGendre function and Wilmink function. This result indicated that the Koop and Grossman function was the most appropriate function to the estimation of egg curve of Betong Hen.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาการเจริญเติบโตของไก่สาวและค่าทางพันธุกรรมลักษณะการให้ผลผลิตไข่ในแม่ไก่เบตง
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
30 กันยายน 2554
การเลี้ยงไก่เบตงในหมู่บ้าน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย: การศึกษาลักษณะปรากฏการเจริญเติบโตเปอร์เซ็นต์ซาก และลักษณะการผลิตไข่ของไก่เบตง ผลของการใช้โปรตีนระดับต่างๆ กันในอาหารต่อการเจริญเติบโตและลักษณะซากของไก่เบตง อิทธิพลของวิธีการเลี้ยงไก่และแหล่งไขมันในอาหารที่มีต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของไก่ไข่และคุณภาพของไข่ไก่ การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรม ของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ ) การศึกษาอัตราการเจริญเติบโต และสมรรถภาพการผลิตไก่ลูกผสมพื้นเมือง-เบตง การทดสอบสมรรถนะการเจริญเติบโตและความนุ่มเนื้อในไก่ลูกผสมที่ได้จากไก่พ่อพันธุ์พื้นเมืองไทยกับไก่แม่พันธุ์ทางการค้า การศึกษาประสิทธิภาพการเจริญเติบโตและลักษณะซากของไก่ลูกผสมพันธุ์พื้นเมืองและพันธุ์เบตง การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตในไก่ดำสายพันธุ์ต่างๆ และลูกผสมไก่ดำ สมรรถนะการเจริญเติบโตของไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางดำ และชีที่ เลี้ยงด้วยอาหารไก่เนื้อและอาหารไก่ไข่ ผลของปุ๋ยมูลไก่และปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพผลผลิตของกล้วยไข่ ในอำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก