สืบค้นงานวิจัย
การวิเคราะห์เสถียรภาพในการให้ผลผลิตของถั่วฝักยาวในสภาพการให้ปุ๋ยไนโตรเจนต่างกัน
พรทิพย์ พรสุริยา, ปราโมทย์ พรสุริยา, ปฏิยุทธ์ ขวัญอ่อน, พรทิพย์ พรสุริยา, ปราโมทย์ พรสุริยา, ปฏิยุทธ์ ขวัญอ่อน - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
ชื่อเรื่อง: การวิเคราะห์เสถียรภาพในการให้ผลผลิตของถั่วฝักยาวในสภาพการให้ปุ๋ยไนโตรเจนต่างกัน
ชื่อเรื่อง (EN): Yield Stability Analysis of Yard Long Bean Under Different Nitrogen Fertilizer Environments
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: บทคัดย่อ การทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับสภาพแวดล้อมและเพื่อประเมินเสถียรภาพของผลผลิตของถั่วฝักยาว 10 จีโนไทป์ วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ (RCBD) มี 10 ทรีตเมนต์ (สายพันธุ์/พันธุ์) จำนวน 2 ซ้ำ ทำการทดลองซ้ำ 6 การทดลอง ใน 6 สภาพแวดล้อม (2 ฤดูปลูก x 3 ตำรับปุ๋ย) โดยในฤดูปลูกที่ 1 แต่ละการทดลองทำการสุ่มทรีตเมนต์ใหม่ก่อนปลูก ส่วนในฤดูปลูกที่ 2 ใช้แผนผังการทดลองเหมือนฤดูปลูกที่ 1 ผลการทดลองพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (P 0.05) เมื่อพิจารณาจากผลผลิตและความยาวฝักของถั่วฝักยาวจากผลการทดลองทั้ง 6 สภาพแวดล้อม พบว่าสายพันธุ์ 303-1-L2 และ บางพระ2 ให้ผลผลิตและความยาวฝักมากที่สุด และยังเป็นพันธุ์ที่มีเสถียรภาพของผลผลิต จึงเป็นสายพันธุ์ที่เหมาะสมในการปลูกและแนะนำให้กับเกษตรกรในภาคตะวันออกต่อไป คำสำคัญ: ถั่วฝักยาว ผลผลิต เสถียรภาพของพันธุ์
บทคัดย่อ (EN): The purposes of the study were to study genotype-environment interaction and to determine yield stability of 10 yard long bean genotypes (lines/cultivars) under 6 diverse environments (2 seasons x 3 fertilizer applications). A randomized complete block design (RCBD) with 2 replications was used for each environment. Genotypes were randomly sampled for each experiment in Season 1, and this layout was also used for Season 2. The results revealed that significant differences (P 0) (yield of 13.71 and 13.14 ton/hectare, respectively), regression coefficient around unity (bi = 1), and deviation from regression value around zero ( = 0). Genotype Bangpra1 had the bi value significantly greater than 1 with non-significant value; so this line was highly responsive to environmental fluctuation and suitable for highly favorable environment. Interactions were significant for season x fertilizer and for genotype x season (P 0.05). In consideration of yield and pod length of yardlong bean genotypes from 6 environments, lines 303-1-L2 and Bangpra2 had the highest yield and pod length, and were also identified as yield stability. Thus, these two genotypes were suitable for growing and introducing to farmers in the eastern region of Thailand. Keywords: yardlong bean, yield, genotypic stability.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิเคราะห์เสถียรภาพในการให้ผลผลิตของถั่วฝักยาวในสภาพการให้ปุ๋ยไนโตรเจนต่างกัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
30 กันยายน 2559
การประเมินผลผลิตถั่วฝักยาว 40 สายพันธุ์ เสถียรภาพของพันธุ์ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันต่อการให้ผลผลิตปาล์มน้ำมัน ผลของการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของถั่วฝักยาวในกลุ่มชุดดินที่35 สภาพการผลิตถั่วฝักยาวของเกษตรกรในอำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ศักยภาพการผลิตถั่วฝักยาวภายใต้ระบบเคมีและระบบอินทรีย์ในภาคใต้ของประเทศไทย อิทธิพลของปุ๋ยไนโตรเจนที่มีต่อผลผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วหนูท้องขาว การทดสอบเสถียรภาพของผลผลิตถั่วเขียวอินทรีย์ คุณภาพและผลผลิตยาเส้นจากปุ๋ยไนโตรเจนและฟอสเฟต การศึกษาผลของปุ๋ยอินทรีย์น้ำในอัตราที่เหมาะสมเพื่อผลิตถั่วฝักยาวในระบบเกษตรอินทรีย์ การพัฒนาการผลิตแตงกวา คะน้า ผักโขม พริก และถั่วฝักยาว ด้วยไคโตซาน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก