สืบค้นงานวิจัย
ชีววิทยาบางประการของกบอ๋องข้างลายในจังหวัดเชียงใหม่
สมชาติ ธรรมขันทา - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: ชีววิทยาบางประการของกบอ๋องข้างลายในจังหวัดเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง (EN): Some Biological Aspects of Dark-sided Frog (Rana nigrovittata Blyth, 1855) in Chiang Mai Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สมชาติ ธรรมขันทา
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ: กบอ๋องข้างลาย ชีววิทยา
บทคัดย่อ: การศึกษาชีววิทยาบางประการของกบอ๋องข้างลายในจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตฤประสงค์เพื่อศึกยา แหล่งที่อยู่อาสัย อนุกรมวิธานและถักขณะ โดยทั่วไป อาหารและนิสัยการกินอาหาร ความแตกต่างระหว่างเพศและอัดราส่วนเพศ ความสัมหันธ์ระหว่างน้ำหนักและความยาวลำตัว ความสัมพันธ์ระทว่างความคกไข่ต่อน้ำหนักและความยาวลำตัว การผถมพันห์วางไข่ และเลี้ยงตัวอ่อน โดยออกรวบรวมพันหักบทั้งเวลากลางวันและกลางคืนโดยใช้มือจับ บริเวณลำห้วยนาไกร้ ดำบลยางเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัคเชียงใหม่ ระหว่างเดือนกรกฎากม พ.ศ.2548 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549ผลการศึกษาพบว่า กบอาศัยซ่อนตัวอยู่ใต้ก้อนหินบริเวณลำธารภูเขา และบริเวณป่าใกถ้ำ ๆ ลำธารรวบรวมพันธุ์กบได้จำนวน ร44 ตัว เป็นกบเพศผู้จำนวน 245 ตัว น้ำหนักเฉถี่ย 8.9+2.4 กรัม ความยาวลำคัวเฉลี่ย55.0+9.7 มิลลิเมตร กบเพศเมียจำนวน 299 ตัว น้ำหนักเฉลีย 9.2-2.6 กรัม กวามยาวลำตัวเฉลี่ย 57.9+8.8 มิลลิมตร กบอ๋องข้างตาขเป็นกบขนาคเล็ก ลักษณะเค่นคือสำตัวสีน้ำตาลอมเขียวมะกอก มีตันนูนที่ขอบหลังสอง เส้นตลอดแนวยาวลำตัวและบีสีบริวณด้านข้างลำตัวทั้งสองข้างมีสีน้ำดาลเข้ม ประด้วยจุดสีดำ ขามีลายพาคสีน้ำตาลเข้ม กบออกหาอาหารในเวลากลางคืนโดขเฉพาะช่วงหัวค่ำ ชนิดและปริมาณอาหารที่พบในกระเพาะ ได้แก่ กลุ่มไช้เคือน หนอน ร้อยละ 10 5 กลุ่มแมลง จิ้งหรีด มด ปลวก ร้อยถะ 29.0 กลุ่มเศยพืช ใบไม้ ร้อยถะ 20.5 และกลุ่มหิน ดิน ทราย ร้อยละ 10.0 ความแศกต่างระหว่างเพศจำาแนกได้ชัดเจนในฤคูผสมพันธุ์วางไข่ โคยกบเทศผู้มีสำตัวเรียวขาว สีลำตัวเข้บกว่า มีมัคกล้ามเนื้อก้อนเล็ก ๆ บริเวณขาหน้าด้านใน ซึ่งไม่ปรากฎในกบเทศเบีย ส่วนกบเพศมียมีท้องม ผิวหนังบริวณท้องบางใสสามารถมองเห็นรังไข่ภายในท้องได้ อัตราส่วนระหว่างเพศผู้ต่เทศเบียเท่ากับ 1:1:2 ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักและกวามยาวลำตัวแบบไม่แยกเทศ มีความสับพันธ์ W -0.0202L(R'0.8997, ก = 544, p.<0.05) ส่วนกวามต้มพันธ์ระหว่างน้ำหนักและความยาวลำตัวของกบเพศผู้และเพศเมีย มีความสัมพันธ์ W -= 0.0304 L'415* (R' =09108, n -= 245, p <0.05) และ W - 0.0098 L' M (R0.9216, ถ - 299, p < 0.05) ตามลำดับ ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างกวามดกไข่ต่อน้ำหนัก และกวามสัมพันธ์ระหว่างกวามคกไข่ต่อกวามยาวลำตัว มีความสัมพันธ์ F - 236.3391 W2.01 (R' = 0.8711, n - 20, P <0.05) และF - 15.0461 L 05 (R' - 0.7965, ถ - 20、 P < 0.05) ตามลำดับ กบผสมพันธุ์วางไข่ระหว่างเดือนทฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ความคกไข่เฉลี่ย 1,200+308 ฟอง ตักขณะฟองไข่มีเมือกเหยวใสหุ้มฟองไข่ยืคคิดกันลอยเป็นแพอยู่ผิวน้ำ ขนาคเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.0 มิลลิเมตร เวลาในการฟักจนออกเป็นลูกอดประมาณ 4 6 วันการพัฒนาการจากถูกอ็อดจนมีลักษณะเหมือนตัวเต็มวัย ใช้เวลาประมาณ 30-15 วัน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2550
เอกสารแนบ: http://inlandfisheries.go.th/research/details.php?id=95
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ชีววิทยาบางประการของกบอ๋องข้างลายในจังหวัดเชียงใหม่
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2550
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
เอกสารแนบ 3
การเพาะพันธุ์กบอ๋องข้างลาย การศึกษาชีววิทยาบางประการของกุ้งฝอยในกว๊านพะเยา การศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาเวียนในแม่น้ำว้า จังหวัดน่าน ชลชีววิทยาบางประการและทรัพยากรประมงในแม่น้ำสายบุรี การศึกษาเบื้องต้นทางชีววิทยาบางประการและการทดลองเพาะพันธุ์ปลาไหลนา ชลชีววิทยาบางประการและทรัพยากรประมงในแม่น้ำปัตตานี การแพร่กระจายและชีววิทยาบางประการของปลาสกุล Homaloptera ในจังหวัดจันทบุรี 2558A17002017 การศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาเวียนในแม่น้ำว้า จังหวัดน่าน การศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาแมนดาริน, Synchiropus splendidus(Herre, 1927) ในที่กักขัง องค์ประกอบของชนิด และชีววิทยาบางประการของพรรณปลาในแม่น้ำจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก