สืบค้นงานวิจัย
การตรวจหาเชื้อปรสิตที่ติดต่อผ่านทางดินโดยใช้เทคนิคทางโมเลกุล ในพื้นที่มี การปลูกยางพารา ในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย
พวงเพชร วารีย์ โม้ลี - มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อเรื่อง: การตรวจหาเชื้อปรสิตที่ติดต่อผ่านทางดินโดยใช้เทคนิคทางโมเลกุล ในพื้นที่มี การปลูกยางพารา ในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Molecular detection of soil-transmitted parasite in rubber tree plantation in lower Northern part of Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พวงเพชร วารีย์ โม้ลี
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
บทคัดย่อ: 1. เพื่อตรวจหาความชุก (prevalence) ของเชื้อปรสิตที่ติดต่อผ่านทางดิน ในพื้นที่มีการปลูกยางพารา ในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยด้วยวิธี Simple smear วิธี Kato’s thick smear วิธี Formalin ethyl–acetate concentration technique 2. เพื่อตรวจหาความชุก (prevalence)
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนเรศวร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: 1. เพื่อตรวจหาความชุก (prevalence) ของเชื้อปรสิตที่ติดต่อผ่านทางดิน ในพื้นที่มีการปลูกยางพารา ในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยด้วยวิธี Simple smear วิธี Kato’s thick smear วิธี Formalin ethyl–acetate concentration technique 2. เพื่อตรวจหาความชุก (prevalence) ของเชื้อปรสิตที่ติดต่อผ่านทางดิน ในพื้นที่มีการปลูกยางพารา ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย ด้วยวิธี Agar Plate Culture 3. เพื่อตรวจหาความชุก (prevalence) ของเชื้อปรสิตที่ติดต่อผ่านทางดิน ในพื้นที่มีการปลูกยางพารา ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย ด้วยวิธี PCR 4. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการตรวจพบเชื้อปรสิตที่ติดต่อผ่านทางดิน ในพื้นที่มีการปลูกยางพารา จากการตรวจทั้ง 5 วิธี คือวิธี Simple smear วิธี Kato’s thick smear วิธีFormalin ethyl–acetate concentration technique วิธี Agar Plate Culture และวิธี PCR 5. เพื่อทำสื่อสุขศึกษา ในการป้องกัน และเฝ้าระวังโรคเชื้อปรสิตที่ติดต่อผ่านทางดินในพื้นที่มีการปลูกยางพารา ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ของประเทศไทย
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การตรวจหาเชื้อปรสิตที่ติดต่อผ่านทางดินโดยใช้เทคนิคทางโมเลกุล ในพื้นที่มี การปลูกยางพารา ในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย
มหาวิทยาลัยนเรศวร
30 กันยายน 2560
การศึกษาการใช้สารเคมีกำจัดปรสิตภายนอกด้านการปศุสัตว์ การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกยางพาราในพื้นที่ที่เป็นแหล่งโรครากขาว ศึกษาการจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา การพัฒนาการตรวจหา เชื้อสเตรปโตคอคคัส ซูอิส และยีนที่จำเพาะต่อ ซีโรไทป์โดยใช้เทคนิค multiplex PCR ผลของไคโตซานต่อระดับของโมเลกุลส่งสัญญาณ (SA; JA และ ABA) และการแสดงออกของ marker genes ในระบบป้องกันตนเองของยางพารา การใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าไม้ในการปลูกยางพารา โครงการทดสอบเทคโนโลยีการผลิตยางพาราที่เหมาะสมในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง การใช้เทคนิค PCR ตรวจสอบลักษณะพันธุกรรม Malignant Hyperthermia ในสุกรพันธุ์เปียแตรง การตรวจหา Suilysin และโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงของ เชื้อสเตรปโตคอคคัส ซูอิส ที่แยกได้จากสุกรป่วย สุกรปกติที่เป็นพาหะของโรคและคนที่เกี่ยวข้องโดยใช้เทคนิค PCR

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก