สืบค้นงานวิจัย
ผลของการเสริมน้ำหมกัสมุนไพรต่อปริมาณการกินได้และการย่อยได้ ของโคเนื้อลูกผสมวากิว
โอภาส พิมพา - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของการเสริมน้ำหมกัสมุนไพรต่อปริมาณการกินได้และการย่อยได้ ของโคเนื้อลูกผสมวากิว
ชื่อเรื่อง (EN): The effect of liquid fermented herb on feed intake and digestibility of Wagyu crossbred Cattle
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: โอภาส พิมพา
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Opart Pimpa
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของการเสริมน้ำหมักสมุนไพร 2 ชนิดคือ รากปลาไหลเผือกหรือตงกัดอารี และต้นข่าหมัก ใน การขุนโคลูกผสมวากิว 50% (F1) และบราห์มันxชาร์โรเลส์ จำนวน 12 ตัว น้ำหนักตัวเริ่มต้น 390 ± 53.7 กก. ในแต่ละ ปัจจัยมีโคจำนวน 3 ซ้ำ ตามแผนการทดลองแบบ CRBD และทำการเลี้ยงขุนเป็นเวลา 8 เดือน เก็บข้อมูลการกินได้และ การย่อยได้ จากการใช้น้ำหมักสมุนไพรเสริมในอาหารอัตราตัวละ 500 มล./วัน ราดบนอาหาร TMR มี 4 ปัจจัยทดลอง คือ T1 ไม่มีการใช้น้ำหมักสมุนไพร T2 เสริมด้วยน้ำหมักสมุนไพรรากปลาไหลเผือก T3 เสริมด้วยน้ำหมักต้นข่า และ T4 เสริมด้วยน้ำหมักสมุนไพรทั ้งสองชนิดอย่างละเท่ากัน (250:250 มล.) จากการศึกษาพบว่า การเสริมน้ำหมักสมุนไพร ไม่มีผลต่อปริมาณการกินได้และการย่อยได้ของวัตถุแห้ง (P>0.05) แต่มีผลต่อการย่อยได้ของโปรตีน NDF และ ADF (P<0.05) การใช้น้ำหมักสมุนไพรรากปลาไหลเผือกเสริมในอาหารโคขุนมีผลดีต่อการย่อยได้ของโปรตีน NDF และ ADF
บทคัดย่อ (EN): This study aimed to investigate the effect of fermented two herbs, Eurycoma longifolia and Galanga stem (Alpinia galanga (L.) Willd.) supplementation on feed intake, and digestibility of fattening cattle. The 12 male, 50% Wagyu crossbred with Brahman and Charolais cattle (F1) were used in the experiment. The initial body weight was 390 ± 53.7 kg. The liquid part of fermented two herbs were supplemented to the cattle feed at the rate of 500 ml/d. There were 4 treatments: T1 was total mixed ration (TMR), T2 was TMR supplemented with fermented Eurycoma longifolia solution, T3 was TMR supplemented with fermented Galanga stem solution and T4 was supplemented with both of 2 herbs at equal. The experimental period was for 8 months. It was found that, the supplementation of liquid fermented herbs no effect on feed intake and dry matter digestibility (P>0.05). However, supplementation of fermented herbs in cattle feeds was increase protein, NDF and ADF digested.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2562
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=21_Ani47.pdf&id=3410&keeptrack=5
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของการเสริมน้ำหมกัสมุนไพรต่อปริมาณการกินได้และการย่อยได้ ของโคเนื้อลูกผสมวากิว
โอภาส พิมพา
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2562
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของการเสริมผลิตภัณฑ์ผสมไบโอติน (BMP) ต่อจลนศาสตร์การผลิตแก๊ส และการย่อยได้ของอาหารผสมสำเร็จ (TMR) ผลการใช้กากมันสำปะหลังหมักในอาหารโคเนื้อต่อการกินได้และการย่อยได้ของโภชนะ ผลของการเสริมกระถินหมักและหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 หมักต่อปริมาณการกินได้ นิเวศวิทยาในรูเมน และสมรรถนะการเจริญเติบโตของโคพื้นเมืองไทย ผลการใช้ใบยอผงเป็นสารเสริมในอาหารต่อปริมาณการกินได้ และผลผลิตน้ำนมในโคนม ผลของเมล็ดพืชน้ำมันต่อปริมาณการกินได้ อัตราการเจริญเติบโต ปริมาณของกรดไขมันที่ระเหยได้ ปริมาณแก๊ซมีเธน ชนิดของจุลินทรีย์ในกระเพาะหมักและชนิดของกรดไขมันในโคเนื้อ จลนศาสตร์การผลิตแก๊สและการย่อยได้ในหลอดทดลองของอาหารลูกโคอัดเม็ดที่มีส่วนประกอบของกากหัวแก่นตะวันและสมุนไพรไทยบางชนิด ผลของหญ้าและถั่วพืชอาหารสัตว์หมักเสริมด้วยแบคทีเรียกรดแลคติคที่มีในน้ำพืชหมัก ต่อปริมาณการกินได้ และผลผลิตน้ำนม ผลของการทดแทนข้าวโพดด้วยกลีเซอรีนดิบในอาหารผสมเสร็จต่อปริมาณการกินได้ การย่อยได้ของโภชนะ กระบวนการหมักในกระเพาะรูเมน และเมแทบอไลท์ในกระแสเลือดของแพะ ผลการเสริมผักตบชวาหมัก (Eichhornia crassipes Mart) ต่อสมรรถภาพการผลิตโคเนื้อ ผลของสารสกัดสมุนไพรไทยต่อการยับยั้งเจริญเติบโตของเชื้อ Aromonas hydrophila

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก