สืบค้นงานวิจัย
การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมบางประการสำหรับพัฒนาการผลิตพลับในประเทศไทย
ศาลักษณ์ พรรณศิริ, วีระศรี เมฆตรง (หวังการ), ชัยสิทธิ์ ทองจู, วรวิทย์ ยี่สวัสดิ์, วิสิฐ กิจสมพร - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมบางประการสำหรับพัฒนาการผลิตพลับในประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Some appropriate technology for improving persimmon production in Thailand
บทคัดย่อ: ศึกษาผลของต้นตอกลางจากการทำ top working ที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพลับหวานพันธุ์ซื่อหลานและพันธุ์ฟูยู การเจริญเติบโตของยอดพันธุ์ดีหลังจากการทำ top working 18 เดือน พบว่า พันธุ์ซื่อหลานเจริญเติบโตได้ดีบนต้นพลับฝาดพันธุ์หงเหม่ยและจูหง พันธุ์ฟูยูจากไต้หวันเจริญเติบโตได้ดีบนต้นพลับฝาดพันธุ์ซิชู พันธุ์ฟูยูจากสถานีวิจัยดอยปุยเจริญเติบโตได้ดีบนต้นพลับฝาดพันธุ์อั้งใสและหงเหม่ย ช่วงเวลาเปลี่ยนยอดมีผลต่อเปอร์เซ็นต์การแตกยอด(การรอดตายหลังเปลี่ยนยอด) ซึ่งควรเปลี่ยนยอดเมื่อต้นทิ้งใบแล้วมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ พันธุ์พลับฝาดมีแนวโน้มว่ามีผลต่อขนาดกิ่งของพันธุ์พลับหวานที่ทำ top working มากกว่าการเจริญเติบโตด้านความยาวกิ่ง
บทคัดย่อ (EN): The effects of top working interstocks on growth performance and yield of the Sue-Lan and Fuyu persimmon were studied. Eighteen months after top working it was found that Sue-Lan gave the highest growth performance when top working on astringent persimmon cv Hong-Hmoei and Juhong. While Fuyu from Taiwan and Fuyu from Doi Pui research station top working on astringent persimmon cv Xichu and Ang-Sai, Hong-Hmoei respectively. Grafting duration effected on percentage of scion survival, it suitable to graft when leave fall more than 70 percent. Variety of astringent persimmon was more effect on scion diameter than scion length. Fruit production of scion on all interstocks were seen at the first year after breaking dormancy.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ: พลับ
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมบางประการสำหรับพัฒนาการผลิตพลับในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2556
การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมบางประการสำหรับ พัฒนาการผลิตพลับในประเทศไทย การใช้เทคโนโลยีการผลิตพลับของเกษตรกรชาวไทยภูเขาในจังหวัดเชียงใหม่ การใช้เทคโนโลยีการผลิตข้าวของเกษตรกรในตำบลสำโรง อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2546/47 ผลของการกระแทกต่อรอยช้ำบนผลพลับพันธุ์ซิชู (P2) ผลของอุณหภูมิในการเก็บรักษาต่อคุณภาพของผลพลับพันธุ์พี 2 ในบรรจุภัณฑ์สุญญากาศ การวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ จากผลพลับให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่ผลผลิตที่ไม่สามารถจำหน่ายได้ สภาพการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าวของสมาชิกกลุ่มเกษตรกรทำนา ตำบลพลับพลา อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา การสร้างลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อระบุความจำเพาะของพลับพลึงธารพันธุ์ไม้น้ำใกล้สูญพันธุ์ในประเทศไทย และการปรับปรุงพันธุกรรมโดยใช้รังสีแกมมา ทัศนคติของเกษตรกรต่อการดำเนินกิจกรรมที่ส่งผลให้ชุมชนภาคเกษตรเข้มแข็ง : กรณีศึกษาเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิตด้านการเกษตร ตำบลจันดุม อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีการผลิตข้าวสาลีของเกษตรกร
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก