สืบค้นงานวิจัย
การตอบสนองขององุ่นพันธุ์รับประทานสดต่อสารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อการผลิตและคุณภาพ
จรัล เห็นพิทักษ์ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การตอบสนองขององุ่นพันธุ์รับประทานสดต่อสารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อการผลิตและคุณภาพ
ชื่อเรื่อง (EN): Responses of Some Table Grape Varieties to Growth Regulators for Grape Production and Quality
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: จรัล เห็นพิทักษ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ประเทศไทยมีพื้นที่การผลิตองุ่นประมาณ 28,742 ไร่ และมีการปลูกกระจายมากกว่า 30 จังหวัดทั่วประเทศ (สุรศักดิ์, 2547) มีพื้นที่ส่วนใหญ่ปลูกองุ่นเป็นพันธุ์ที่ใช้สำหรับรับประทานสดประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ และมีแนวโน้มจะขยายเพิ่มมากขึ้น พันธุ์องุ่นที่ใช้สำหรับรับประทานสดที่มีปลูกมากกว่าร้อยละ 90 เป็นพันธุ์ไวท์มาละกา ปัจจุบันได้มีการนำเข้าองุ่นพันธุ์รับประทานสดอื่นๆ ซึ่งปลูกได้ผลดีเป็นการค้าในปัจจุบัน ได้แก่พันธุ์ Beauty Seedless, Perlette, Marroo Seedless, Flame Seedless, Centennial และ Sugraone เป็นต้น ซึ่งพันธุ์ที่กล่าวถึงนี้จัดเป็นพันธุ์องุ่นรับประทานสดชนิดไม่มีเมล็ด ซึ่งเกษตรกรผู้ผลิตสามารถจำหน่ายได้ในราคาที่สูง และผู้บริโภคให้ความนิยมมาก อย่างไรก็ตามการผลิตองุ่นรับประทานสดเกษตรกรยังมีปัญหาในเรื่องการผลิต เช่น การหาแรงงาน และคนงานที่มีฝีมือประณีตในการซอยผลองุ่น ซึ่งต้องใช้เวลาและแรงงานจำนวนมาก ซึ่งเกษตรกรผู้ปลูกขาดแคลนแรงงานและทำได้ไม่ทันต่อการผลิตทำให้ผลองุ่นมีขนาดเล็ก ช่อผลแน่น ง่ายต่อการเข้าทำลายของโรคผลเน่า และคุณภาพผลต่ำ นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้วขนาดของผลองุ่นรับประทานสดชนิดไม่มีเมล็ด ไฟล์แนบ ProposalObjective-Statusโครงการวิจัยเสร็จสิ้นExpected BenefitGoal Result : 1.ได้ช่อผลองุ่นขององุ่นพันธุ์รับประทานสดชนิดไม่มีเมล็ดที่ปลูกเป็นการค้าในปัจจุบัน มีลักษณะช่อโปร่งเหมาะสม ช่วยประหยัดเวลา ค่าแรง และแรงงานในการปลิดผล (ซอยผล) เป็นอย่างมาก 2.ได้ขนาดผลและช่อผลขององุ่นพันธุ์รับประทานสดชนิดไม่มีเมล็ด มีขนาดและน้ำหนักของผลและช่อเพิ่มมากขึ้นในพันธุ์องุ่นแต่ละพันธุ์ 3.จะสามารถเพิ่มผลผลิตขององุ่นโดยจะเพิ่มจำนวนช่อดอก ช่อผล ในองุ่นพันธุ์รับประทานสดชนิดไม่มีเมล็ด จะเป็นแนวทางถือปฏิบัติในการผลิตองุ่นของเกษตรกรต่อไป 4.เสริมสร้างความเข้มแข็งมั่นคง ให้แก่เกษตรกรและอุตสาหกรรมการปลูกองุ่นต่อไป 5.สร้างความเข้มแข็งให้สถานีวิจัยกาญจนบุรี ซึ่งเป็นศูนย์ทางวิชาการด้านความรู้เรื่ององุ่น ตลอดจนชื่อเสียงของภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทคัดย่อ (EN): A study on the effects some plant growth regulators (PGRs) consist of; Gibberellic acid (GA3), Carbaryl and CPPU (1-(2-chloro-4-pyridyl)-3-phenylurea) at different concentrations to berry drop, period of time for berry thinning, berry size and weight, cluster size and weight, percentage of developed seed in berry, and quality at the harvest time. Three cultivars of seedless table grape including; Beauty Seedless, Marroo Seedless and Perlette were used for plant materials. The experiments were conducted during October 2009 to March 2010 at Kanchanaburi Research Station, Agro-Ecological System Research and Development Institute, Kanchanaburi Province. The result showed that all concentrations of GA3 and Carbaryl application promoted percentage of berry drop in cluster (29.24-59.30%) than untreated cluster (17.72%). The flower clusters which were treated with 5.0 g/L Carbaryl gave the most effective for berry thinning (59.30%) and took the lowest manual thinning time (0:49 min/cluster). The untreated treatment gave the biggest berry size, highest berry weight and percentage of seeded berry. All treatments were very close of total soluble solid; TSS (15.73-16.03 ๐Brix) and total acidity; TA (0.40-0.48%). The improving fruit size and yield of table grape production were found that GA3 and CPPU application to young cluster were affected to enlarge both the berry and cluster size and weight for all cultivars moreover, the percentage of seeded berry of ‘Marroo Seedless’ grape was reduced by applying GA3 and CPPU at early stage of berry development. However, the application of GA3 50 ppm only was similar effect to GA3 plus CPPU for improving berry size and yield in addition, GA3 application only is more economical than GA3 plus CPPU application. In the term of berry quality, the untreated cluster (control) gave higher total soluble solids (TSS) and TSS/TA ratio than GA3 or GA3 plus CPPU application. A study on the effects some plant growth regulators (PGRs) consist of; Gibberellic acid (GA3), Carbaryl and CPPU (1-(2-chloro-4-pyridyl)-3-phenylurea) at different concentrations to berry drop, period of time for berry thinning, berry size and weight, cluster size and weight, percentage of developed seed in berry, and quality at the harvest time. Three cultivars of seedless table grape including; Beauty Seedless, Marroo Seedless and Perlette were used for plant materials. The experiments were conducted during October 2009 to March 2010 at Kanchanaburi Research Station, Agro-Ecological System Research and Development Institute, Kanchanaburi Province. The result showed that all concentrations of GA3 and Carbaryl application promoted percentage of berry drop in cluster (29.24-59.30%) than untreated cluster (17.72%). The flower clusters which were treated with 5.0 g/L Carbaryl gave the most effective for berry thinning (59.30%) and took the lowest manual thinning time (0:49 min/cluster). The untreated treatment gave the biggest berry size, highest berry weight and percentage of seeded berry. All treatments were very close of total soluble solid; TSS (15.73-16.03 ๐Brix) and total acidity; TA (0.40-0.48%). The improving fruit size and yield of table grape production were found that GA3 and CPPU application to young cluster were affected to enlarge both the berry and cluster size and weight for all cultivars moreover, the percentage of seeded berry of ‘Marroo Seedless’ grape was reduced by applying GA3 and CPPU at early stage of berry development. However, the application of GA3 50 ppm only was similar effect to GA3 plus CPPU for improving berry size and yield in addition, GA3 application only is more economical than GA3 plus CPPU application. In the term of berry quality, the untreated cluster (control) gave higher total soluble solids (TSS) and TSS/TA ratio than GA3 or GA3 plus CPPU application.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การตอบสนองขององุ่นพันธุ์รับประทานสดต่อสารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อการผลิตและคุณภาพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2553
ผลของระดับความชื้นในดินและหญ้าแฝกต่อการเจริญเติบโตผลผลิต และคุณภาพขององุ่นพันธุ์ Maroon ในชุดดินลี้ โครงการวิจัยเพื่อทดสอบพันธุ์องุ่นรับประทานสด และพัฒนาเทคโนโลยีการปลูกองุ่นพันธุ์ Beauty Seedless ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีต่ผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ Perlette (ชื่อเดิม : ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยอินทรีย์น้ำต่อผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ Perlette) การตอบสนองขององุ่นพันธุ์ทำไวน์บนต้นตอองุ่นที่ปลูกในดินด่าง การวิจัยเพื่อทดสอบพันธุ์องุ่นรับประทานสดสำหรับพื้นที่สูง การศึกษาการตัดแต่งกิ่งที่มีผลต่อปริมาณและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ไม่มีเมล็ด โครงการวิจัยและพัฒนาองุ่นสายพันธุ์ทานสดในประเทศไทย ผลของการให้น้ำแบบประหยัดและการให้ปุ๋ยในระบบน้ำต่อผลผลิตและคุณภาพขององุ่น การจัดการสวนองุ่นเพื่อเพิ่มผลผลิต การวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตองุ่นบนพื้นที่สูง โครงการย่อยที่ 1 การวิจัยเพื่อทดสอบพันธุ์องุ่นรับประทานสดและการวิจัยเพื่อลดต้นทุนและปรับปรุงคุณภาพผลผลิต

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก