สืบค้นงานวิจัย
การผลิตเอทานอลโดยใช้วัสดุเหลือทิ้งจากการเพาะเห็ด
พัฒนา ค้ากำยาน - มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ชื่อเรื่อง: การผลิตเอทานอลโดยใช้วัสดุเหลือทิ้งจากการเพาะเห็ด
ชื่อเรื่อง (EN): Ethanol production using wastes from mushroom production
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พัฒนา ค้ากำยาน
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ในการทดลองนี้ผู้วิจัยได้ทดลองการปรับสภาพวัสดุเหลือทิ้งด้วยวิธีทางเคมีร่วมกับวิธีทางชีววิทยา เปรียบเทียบกับวิธีทางชีววิทยาเพียงอย่างเดียว โดยได้แบ่งการทดลองออกเป็น 4 ชุดการทดลองได้แก่ 1)วัสดุก้อนเห็ดเหลือทิ้งย่อยด้วยกรดซัลฟูริก (H2SO4) ร่วมกับเชื้อเห็ด 2)วัสดุย่อยด้วยด่าง (NaOH) ร่วมกับเชื้อเห็ด 3)วัสดุก้อนเห็ดเหลือทิ้งไม่ปรับสภาพย่อยด้วยเชื้อเห็ด 4)วัสดุข้ีเล่ือยย่อยด้วยเช้ือเหด็ โดยเหด็ ท่ีใช้ในการทดลองน้ีคือ Laetiporus sp. ท าการเลี้ยงเชื้อเพื่อย่อยเป็นเวลา 20 วัน เก็บตัวอย่างทุก 2 วัน ตรวจสอบปริมาณน ้าตาลรีดิวซ์และหาค่ากิจกรรมของเอนไซม์ cellobiase ซ่ึงเป็นเอนไซม์ท่ีเก่ียวข้องกับการย่อยเซลลูโลส จากการทดลองพบว่ามีการสร้างน ้าตาลรีดิวซ์อยู่ 2 ระยะในทุกชุดการทดลองท่ีศึกษา โดยปริมาณน ้าตาลสูงสุดอยู่ท่ี1.85มิลลิกรัมต่อกรัมวัสดุเหลือท้งิไม่ปรับสภาพในวันท่ี4 ของการย่อยด้วยเช้ือเหด็ และ 1.4 มิลลิกรัมต่อกรัมวัสดุท่ปีรับสภาพด้วยด่าง ในวันท่ี14 ของการย่อยด้วยเช้ือเหด็ และเชื้อมีความสามารถในการสร้างเอนไซม์cellobiase ในการย่อย ในช่วง 0.25 – 0.45 ยูนิตต่อกรัมสับสเตรท เมื่อทดสอบผลของอัตราส่วนของวัสดุเหลือท้ิงต่อน ้าท่ีใช้สกัดพบว่าอัตราส่วน 1:100 มีความเหมาะสมต่อการเจริญของเชื้อยีสต์มากกว่าอัตราส่วน 1:500 การใช้อัตราส่วนของวัสดุก้อนเห็ดเหลือท้ิงท่ีสูงทา ให้มีความเข้มข้นของสารยังย้ังในการเจริญเช้ือยีสต์สูง และเม่ือทดสอบการผลิตเอทานอลพบว่าอยู่ในช่วง 10 - 60 มิลลิกรัมต่อลิตร และไม่แตกต่างจากการผลิตเอทานอลจากอาหาร YPD ท่ีใช้เล้ียงยีสต์โดยท่ัวไป เมื่อทดลองใช้ เชื้อรา Rhizopus microsporus ซึ่งมีความสามารถในการย่อยสลายวัสดุกลุ่มลิกโนเซลลูโลสและผลิตเอทานอลได้มาผลิตเอทานอลจากอาหารท่ีสกัดจากก้อนเห็ดเหลือท้ิงท่ีไม่ได้ผ่านข้ันตอนการปรับสภาพวัตถุดิบมาก่อน พบว่าเชื้อสามารถผลิตเอทานอลได้ 220 มิลลิกรัมต่อลิตร อย่างไรกต็ ามปริมาณเอทานอลท่ีได้จากการทดลองนี้ยังมีผลผลิตในระดับต ่าและไม่สามารถน าไปใช้ในระดับอุตสาหกรรมได
บทคัดย่อ (EN): In this search, the biomass pretreatment methods were investigated by combing between chemical and biological methods. The four treatments including 1) Mushroom waste materials digested with sulfuric acid (H2SO4) and mushroom Laetiporus sp. 2) Mushroom waste materials digested with alkali (NaOH) and mushroom Laetiporus sp. 3) Non-treated mushroom waste materials digested with Laetiporus sp. 4) Raw sawdust digested with Laetiporus sp. All treatments were cultured for 20 days and the sample was taken every 2 days for measuring reducing sugar content and enzyme activity, cellobiase, which is an enzyme involved in the digestion of cellulose. The results showed that reducing sugar was produced in two phases in all treatments studied. The reducing sugar content was up to 1.85 mg/g of non-treated mushroom waste material at day 4 of incubation time. While the alkaline treated mushroom waste showed the content up to 1.40 mg/g of the material at day 14 of incubation. The mushroom strain has ability to create enzymes to digest cellulose with 0.25 to 0.45 U/g of substrate. The effect of the ratio of mushroom waste material water used for extraction was studied and the result showed that the ratio of 1:100 was more suitable for yeast growth than a ratio of 1:500. The high content of growth inhibitor in the high ratio of water and mushroom waste could inhibit the growth of yeasts cell. However, the production of ethanol was not different between mushroom waste media and YPD which is the general media for yeast cell and it was in the range of 10 mg to 60 mg/L. The fungus, Rhizopus microsporus which are capable to degrade lignocellulose materials and produce ethanol was additional used for the production of ethanol from mushroom waste material and the result showed that this fungus can produce ethanol at 220 mg/L. However, the amount of ethanol produced from this research was not high enough to apply for the industrial level
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การผลิตเอทานอลโดยใช้วัสดุเหลือทิ้งจากการเพาะเห็ด
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
30 กันยายน 2555
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเห็ดบดเพื่อการบริโภคในประเทศและส่งออก การผลิตเอทานอลจากกากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันโดยเชื้อผสมที่คัดเลือก เห็ดที่รับประทานได้และที่น่าสนใจ เห็ดกลุ่มโบลีตส์ของประเทศไทย เห็ดบางชนิดในสกุล Ganoderma และสกุลใกล้เคียง ชนิดของเห็ดสกุล Lepiota และสกุลใกล้เคียงในประเทศไทย ศึกษาความเป็นไปได้ในการนำกระดาษเหลือใช้มาผลิตเป็นเอทานอล ศึกษาการใช้ประโยชน์จากขี้เลื่อยเก่าจากการเพาะเห็ด การไฮโดรไลซีสวัสดุลิกโนเซลลูโลสิกจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรสำหรับการผลิตเอทานอล การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก