สืบค้นงานวิจัย
ผลของแมกนีเซียมคลอไรด์ต่อกิจกรรมของเอนไซม์ Ribulose -1, 5-bisphosphate carboxylase ปริมาณแทนนินในใบสบู่ดำ และคาร์โรทีนอยด์ในน้ำมันไบโอดีเซลจากผลสบู่ดำ
วัลลภ อารีรบ, คณพล จุฑามณี, วิทยา ปั้นสุวรรณ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: ผลของแมกนีเซียมคลอไรด์ต่อกิจกรรมของเอนไซม์ Ribulose -1, 5-bisphosphate carboxylase ปริมาณแทนนินในใบสบู่ดำ และคาร์โรทีนอยด์ในน้ำมันไบโอดีเซลจากผลสบู่ดำ
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of Magnesium Chloride on Ribulose-1,5-bisphosphate carboxylase, tannin content in leaves and carotenoid in biodiesel of Purging nut (Jatropha curcas Linn.) fruits
บทคัดย่อ: การเจริญเติบโตของสบู่ดำ (Jatropha curcas Linn.) สายพันธุ์ CK-B47, CK-A87, CK-B22, CK-A79 และ CK-B34 ที่ช่วงอายุ 2 ถึง 7 เดือนหลังปลูกด้วยท่อนพันธุ์ โดยปลูกด้วยดินตะกอนจากกระบวนการผลิตน้ำประปาที่มีธาตุอะลูมินั่มสูง ในอัตราส่วนผสมดินปลูกต่อดินตะกอน คือ 1:9, 2:8, 3:7, 4:6, 5:5, 6:4 และดินตะกอน 100% พบว่า อัตราส่วนผสมดินปลูกต่อดินตะกอนที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตของสบู่ดำ คือ 6:4 และพื้นที่ใบของสบู่ดำมีความแตกต่างกันเมื่อสบู่ดำอายุ 5 เดือนหลังปลูก โดยสบู่ดำสายพันธุ์ CK-B34 มีพื้นที่ใบสูงสุดเท่ากับ 51.39 ตารางเซนติเมตรต่อต้น รองลงมาคือ สบู่ดำสายพันธุ์ CK-A79, CK-B22, CK-A87 และ CK-B47 ที่มีพื้นที่ใบเท่ากับ 49.79, 49.65, 49.90 และ 48.19 ตารางเซนติเมตรต่อต้น ตามลำดับ กิจกรรมของเอ็นไซม์ไรบูโลสบิสฟอสเฟตคาร์บอกซิเลสในใบสบู่ดำจำนวน 3 สายพันธุ์ที่อายุ 5 เดือนหลังปลูกคือ สายพันธุ์ CK-B47, CK-B22 และ CK-B34 เริ่มจากใบอ่อนอายุใบ 3 วันหลังแตกใบจนกระทั้งใบแก่มีสีเหลืองมากกว่า 70% ของพื้นที่ใบ คือ 28 วันหลังแตกใบ พบว่า ใบสบู่ดำสายพันธุ์ CK-B47 มีกิจกรรมของเอ็นไซม์ไรบูโลสบิสฟอสเฟตคาร์บอกซิเลสสูงสุดที่อายุใบ 15 วันหลังแตกใบ คือ 1.423 ไมโครโมล/มิลลิกรัมโปรตีน/นาที นอกจากนี้การให้สารละลายแมกนีเซียมคลอไรด์ที่ความเข้มข้น คือ 0, 0.05, 0.075 และ 0.15 มิลลิโมล กับใบสบู่ดำที่มีอายุใบ 15 วันหลังแตกใบ พบว่า ใบสบู่ดำสายพันธุ์ CK-B22 ที่ได้รับสารละลายแมกนีเซียมคลอไรด์ที่ความเข้มข้น 0.075 มิลลิโมล เป็นเวลา 3 วัน ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของเอ็นไซม์ไรบูโลสบิสฟอสเฟตคาร์บอกซิเลสเพิ่มสูงสุดที่ 1.657 ไมโครโมล/มิลลิกรัมโปรตีน/นาที ปริมาณสารแทนนินของ condensed tannin และ hydrolyzed tannin ในใบสบู่ดำทั้ง 5 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ CK-B47, CK-A87, CK-B22, CK-A79 และ CK-B34 พบว่า ความเข้มข้นของสารละลายเอทิลแอลกอฮอล์ที่ 15-20 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ความเข้มข้นของสารแทนนินที่สกัดออกมาสูงสุดในเวลาที่ใช้ในการสกัดสารแทนนินที่ 2 ชั่วโมง โดยสบู่ดำจำนวน 3 สายพันธุ์คือ สายพันธุ์ CK-B47, CK-B34 และ CK-B22 มีปริมาณ condensed tannin สูงสุดที่ 211.000, 139.333 และ 121.111 ppm ตามลำดับ สำหรับสาร hydrolyzed tannin ในใบสบู่ดำมีปริมาณสูงสุดคือ สายพันธุ์ CK-B34 คือ 9.890 ppm รองลงมาคือ สายพันธุ์ CK-B22, CK-B47, CK-A79 และ CK-B87 ที่ความเข้มข้น 9.300, 9.279, 8.772 และ 5.183 ppm ตามลำดับ การเจริญเติบโตของสบู่ดำ (Jatropha curcas Linn.) สายพันธุ์ CK-B47, CK-A87, CK-B22, CK-A79 และ CK-B34 ที่ช่วงอายุ 2 ถึง 7 เดือนหลังปลูกด้วยท่อนพันธุ์ โดยปลูกด้วยดินตะกอนจากกระบวนการผลิตน้ำประปาที่มีธาตุอะลูมินั่มสูง ในอัตราส่วนผสมดินปลูกต่อดินตะกอน คือ 1:9, 2:8, 3:7, 4:6, 5:5, 6:4 และดินตะกอน 100% พบว่า อัตราส่วนผสมดินปลูกต่อดินตะกอนที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตของสบู่ดำ คือ 6:4 และพื้นที่ใบของสบู่ดำมีความแตกต่างกันเมื่อสบู่ดำอายุ 5 เดือนหลังปลูก โดยสบู่ดำสายพันธุ์ CK-B34 มีพื้นที่ใบสูงสุดเท่ากับ 51.39 ตารางเซนติเมตรต่อต้น รองลงมาคือ สบู่ดำสายพันธุ์ CK-A79, CK-B22, CK-A87 และ CK-B47 ที่มีพื้นที่ใบเท่ากับ 49.79, 49.65, 49.90 และ 48.19 ตารางเซนติเมตรต่อต้น ตามลำดับ กิจกรรมของเอ็นไซม์ไรบูโลสบิสฟอสเฟตคาร์บอกซิเลสในใบสบู่ดำจำนวน 3 สายพันธุ์ที่อายุ 5 เดือนหลังปลูกคือ สายพันธุ์ CK-B47, CK-B22 และ CK-B34 เริ่มจากใบอ่อนอายุใบ 3 วันหลังแตกใบจนกระทั้งใบแก่มีสีเหลืองมากกว่า 70% ของพื้นที่ใบ คือ 28 วันหลังแตกใบ พบว่า ใบสบู่ดำสายพันธุ์ CK-B47 มีกิจกรรมของเอ็นไซม์ไรบูโลสบิสฟอสเฟตคาร์บอกซิเลสสูงสุดที่อายุใบ 15 วันหลังแตกใบ คือ 1.423 ไมโครโมล/มิลลิกรัมโปรตีน/นาที นอกจากนี้การให้สารละลายแมกนีเซียมคลอไรด์ที่ความเข้มข้น คือ 0, 0.05, 0.075 และ 0.15 มิลลิโมล กับใบสบู่ดำที่มีอายุใบ 15 วันหลังแตกใบ พบว่า ใบสบู่ดำสายพันธุ์ CK-B22 ที่ได้รับสารละลายแมกนีเซียมคลอไรด์ที่ความเข้มข้น 0.075 มิลลิโมล เป็นเวลา 3 วัน ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของเอ็นไซม์ไรบูโลสบิสฟอสเฟตคาร์บอกซิเลสเพิ่มสูงสุดที่ 1.657 ไมโครโมล/มิลลิกรัมโปรตีน/นาที ปริมาณสารแทนนินของ condensed tannin และ hydrolyzed tannin ในใบสบู่ดำทั้ง 5 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ CK-B47, CK-A87, CK-B22, CK-A79 และ CK-B34 พบว่า ความเข้มข้นของสารละลายเอทิลแอลกอฮอล์ที่ 15-20 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ความเข้มข้นของสารแทนนินที่สกัดออกมาสูงสุดในเวลาที่ใช้ในการสกัดสารแทนนินที่ 2 ชั่วโมง โดยสบู่ดำจำนวน 3 สายพันธุ์คือ สายพันธุ์ CK-B47, CK-B34 และ CK-B22 มีปริมาณ condensed tannin สูงสุดที่ 211.000, 139.333 และ 121.111 ppm ตามลำดับ สำหรับสาร hydrolyzed tannin ในใบสบู่ดำมีปริมาณสูงสุดคือ สายพันธุ์ CK-B34 คือ 9.890 ppm รองลงมาคือ สายพันธุ์ CK-B22, CK-B47, CK-A79 และ CK-B87 ที่ความเข้มข้น 9.300, 9.279, 8.772 และ 5.183 ppm ตามลำดับ
บทคัดย่อ (EN): The study on growth of physic nut (Jatropha curcas Linn.) varieties of CK-B47, CK-A87, CK-B22, CK-A79 and CK-B34 during 2 to 7 months after planting with stock using water treatment plant sludge. The ratio of soil per water treatment plant sludge of 1:9, 2:8, 3:7, 4:6, 5:5, 6:4 and 100% of sludge were carried out. The data was showed that the ratio of soil per sludge was of 6:4 to make a highest growth. Furthermore, leaf area of the physic nut to find a difference on five months after planting was determined. The physic nut variety of CK-B34 had maximum leaves area of 51.39 square centimeters per plant and the other varieties of CK-A79, CK-B22, CK-A87 and CK-B47 were of 49.79, 49.65,. 49.90 and 48.19 square centimeters per plant, respectively. The study on activity of enzyme ribulose 1,5 bisphosphate carboxylase in leaves of physic nut, three varieties of CK-B47, CK-B22 and CK-B34 at the age of 5 months after planting were carried out. The 3 days young leaves after leaf emergence until to the leaves had yellow over 70% of leaf area, 28 days after leaf emergence were investigated. The data was showed that the activity of enzyme ribulose 1,5 bisphosphate carboxylase was highest at the age of leaves 15 days after leaf emergence. The physic nut varieties of CK-B47 had the highest activity of 1.423 millimole / mg protein / min. The treatment on spraying with magnesium chloride concentrations of 0, 0.05, 0.075 and 0.15 millimole in each concentration at 25 ml per plant to physic nut leaves on 15 days after leaf emergence was carried out. The data was showed that on third day of physic nut leaves varieties of CK-B22 after sprayed with magnesium chloride concentration of 0.075 millimole had the highest activity of ribulose 1,5 bis phosphate carboxylase of 1.657 millimole / mg protein / min. Amount of condensed tannin and hydrolyzed tannin in 5 strains of Jatropha leaves of CK-B47, CK-A87, CK-B22, CK-A79 and CK-B34 was found that at 15 -20 percent of ethyl alcohol concentration made the concentration of tannins were extracted in the maximum depend on 2 hours of extraction time. The strains of CK-B47, CK-B34 and CK-. B22 were of 211.000, 139.333 and 121.111 ppm, respectively, for amount of hydrolyzed tannin in the Jatropha leaves has the highest of strain CK-B34 was of 9.890 ppm followed by strain CK-B22, CK-B47, CK. CK-B87-A79 the concentration were of 9.300, 9.279, 8.772 and 5.183 ppm, respectively. The study on growth of physic nut (Jatropha curcas Linn.) varieties of CK-B47, CK-A87, CK-B22, CK-A79 and CK-B34 during 2 to 7 months after planting with stock using water treatment plant sludge. The ratio of soil per water treatment plant sludge of 1:9, 2:8, 3:7, 4:6, 5:5, 6:4 and 100% of sludge were carried out. The data was showed that the ratio of soil per sludge was of 6:4 to make a highest growth. Furthermore, leaf area of the physic nut to find a difference on five months after planting was determined. The physic nut variety of CK-B34 had maximum leaves area of 51.39 square centimeters per plant and the other varieties of CK-A79, CK-B22, CK-A87 and CK-B47 were of 49.79, 49.65,. 49.90 and 48.19 square centimeters per plant, respectively. The study on activity of enzyme ribulose 1,5 bisphosphate carboxylase in leaves of physic nut, three varieties of CK-B47, CK-B22 and CK-B34 at the age of 5 months after planting were carried out. The 3 days young leaves after leaf emergence until to the leaves had yellow over 70% of leaf area, 28 days after leaf emergence were investigated. The data was showed that the activity of enzyme ribulose 1,5 bisphosphate carboxylase was highest at the age of leaves 15 days after leaf emergence. The physic nut varieties of CK-B47 had the highest activity of 1.423 millimole / mg protein / min. The treatment on spraying with magnesium chloride concentrations of 0, 0.05, 0.075 and 0.15 millimole in each concentration at 25 ml per plant to physic nut leaves on 15 days after leaf emergence was carried out. The data was showed that on third day of physic nut leaves varieties of CK-B22 after sprayed with magnesium chloride concentration of 0.075 millimole had the highest activity of ribulose 1,5 bis phosphate carboxylase of 1.657 millimole / mg protein / min. Amount of condensed tannin and hydrolyzed tannin in 5 strains of Jatropha leaves of CK-B47, CK-A87, CK-B22, CK-A79 and CK-B34 was found that at 15 -20 percent of ethyl alcohol concentration made the concentration of tannins were extracted in the maximum depend on 2 hours of extraction time. The strains of CK-B47, CK-B34 and CK-. B22 were of 211.000, 139.333 and 121.111 ppm, respectively, for amount of hydrolyzed tannin in the Jatropha leaves has the highest of strain CK-B34 was of 9.890 ppm followed by strain CK-B22, CK-B47, CK. CK-B87-A79 the concentration were of 9.300, 9.279, 8.772 and 5.183 ppm, respectively.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ:
เจ้าของลิขสิทธิ์: ฐานข้อมูล NRMS
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของแมกนีเซียมคลอไรด์ต่อกิจกรรมของเอนไซม์ Ribulose -1, 5-bisphosphate carboxylase ปริมาณแทนนินในใบสบู่ดำ และคาร์โรทีนอยด์ในน้ำมันไบโอดีเซลจากผลสบู่ดำ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2553
ผลของแมกนีเซียมคลอไรด์ต่อกิจกรรมของเอนไซม์ Ribulose -1, 5-bisphosphate carboxylase ปริมาณแทนนินในใบสบู่ดำ และคาร์โรทีนอยด์ในน้ำมันไบโอดีเซลจากผลสบู่ดำ การปรับปรุงพันธุ์สบู่ดำเพื่อการผลิตไบโอดีเซล เครื่องหีบสกัดน้ำมันสบู่ดำ การปรับปรุงพันธุ์สบู่ดำโดยการใช้สารโคลชิชิน: การแปรผันทาง พันธุกรรมของลักษณะเมล็ดและปริมาณน้ำมันของสบู่ดำโคลชิพลอยด์ การศึกษากรรมวิธีการเตรียมเมล็ดสบู่ดำเพื่อการบีบอัดน้ำมันด้วยเครื่องอัดน้ำมันสบู่ดำแบบไฮดรอลิค การหาปริมาณการใช้น้ำของสบู่ดำ (ปีที่3) การวิจัยและพัฒนาเครื่องยนต์ดีเซลรอบสูงเพื่อใช้กับเชื้อเพลิงน้ำมันสบู่ดำ การจัดการศัตรูพืชสบู่ดำ การใช้ประโยชน์จากสบู่ดำในชุมชน การปรับปรุงพันธุ์สบู่ดำเพื่อเพิ่มผลผลิตเมล็ดและปริมาณน้ำมันโดยการใช้เครื่องหมายโมเลกุล
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก