สืบค้นงานวิจัย
องค์ประกอบและการออกฤทธิ์ของสารสกัดชีวภาพจากพืชป่าชายเลน และแนวทางการใช้ประโยชน์จากสารสกัดในการป้องกัน และควบคุม การระบาดของโรคและปรสิตในระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ธีรวุฒิ เลิศสุทธิชวาล - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
ชื่อเรื่อง: องค์ประกอบและการออกฤทธิ์ของสารสกัดชีวภาพจากพืชป่าชายเลน และแนวทางการใช้ประโยชน์จากสารสกัดในการป้องกัน และควบคุม การระบาดของโรคและปรสิตในระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง (EN): Chemical composition and bioactivities of bioactive compounds from mangrove plants and the utilization of the extracts for disease and parasitic control in coastal aquaculture
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ธีรวุฒิ เลิศสุทธิชวาล
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: จากการสำรวจปัชายเลนภายในมหาวิทยาลัยทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง พบพันธุ์ไม้ ชายเลนจำนวน 14 วงศ์ 16 สกุล 20 ชนิด ได้แก่ วงส์ Rhizophoraccac (3 สกุล 5 ชนิค), Acantaceae (I สกุล 2 ชนิด), Meliaceae (1 สกุล 2 ชนิด) นอกนั้นพบวงศ์ตะ ! สกุล สกุลละ I ชนิด ได้แก่ Pandanaceac. Rubiaccac. Sterculiaceac, Palmac, Combretaceae, Pteridaceac, Flagellariaceac, Euphorbiaceac, Apocynaceac, Malvacenc e และ Tiiaccac องค์ประกอบทางเคมีที่สำคัญ คือกลุ่มฟีนอลิก ที่พบมากที่สุดคือแทนนิน ซึ่งจะพบ ในเปลือกมากกว่าที่ส่วนใบ และจากการทลสอบประสิทธิภาพของสารสกัดพยาบที่สกัคด้วยน้ำ จากส่วนของ เปลือกและไบของพืช 6 ชนิด คือ โกงกางใบใหญ่, โกงกางใบเด็ก, ฝาดคอกแดง, โปรงแดง, ถั่ขาว และสีร้ ในการยับยั้งชื้อแบกทีเรีย 3 ชนิด คือ Aeromonas hydrophila, Streptococcus agalactiae และ Vibrio vulnificus พบว่าเปลือกโกงกางใบใหญ่ เปลือกฝาคคอกแดง เปลือกโปรงแดง สามารถยับยั้งการเจริญของ เชื้อ S cgclactioe และ Y. wnficus ได้โดยให้ค่ MIC ประมาณ 0.2- 03 m/รm! ภายใน 24 ชั่วโมง ขณะที่ ส่วนของใบพืชทั้ง 3 ชนิดนี้ รวมทั้งเปลือกและใบของพืช 3 ชนิดที่เหลือจะไม่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ แบคที่เรีย A. Aydrophila ได้เลย ในการทคสอบพิษเฉียบพลันของโกงกางใบใหญ่ โปรงแดง และฝาดดอกแดง ต่อปลานิล มีค่า 72h- LC, เท่ากับ 3,775 (3,320 - 4292) พีพีเอ็ม, 610 (S27-705) พีพีเอ็ม และ 520 (440 - 614) พีพีเอ็ม ที่ระดับ ความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ามลำคับ และต่อปลากะพงขาวมีค่เท่ากับ 680 (608 - 760) พีพีเอ็ม, 1.425 (1.,363 - 1,489) พีพีเอ็ม และ 3,700 (3.113 - 3,896) พี่พีเอ็ม ตามสำคับ ชี้ให้เห็นว่าโกงกางใบใหญ่มีความ เป็นพิษเฉียบพลันน้อยที่สุดต่อปลานิล แต่มีพิษมากที่สุลต่อปลากะพงขาว ขณะที่ฝาดดอกแดงมีความเป็นพิษ ต่อปลากะพงขาว วน้อยที่สุด แต่มีพิษต่อปลานิลสูงสุด แต่เมื่อนำสารสกัดหยาบมารักพาบาคแผลบนผิวตัวปลา นิล พบว่าฝาดอกแคงที่ 150 และ 300 พีพีเอ็ม ให้ผลการรักษาคีที่สุด โดยบาดแผลจะหายเป็นปกติภายใน 7 วัน ขณะที่โปรงแค ดงที่ 150 และ 300 พีพีเอ็ม และโกงกางใบใหญ่ที่ 800 และ1,200 พีพีเอ็ม รวมทั้งกลุ่ม ดวบคุมจะให้ผลการรักพาที่ช้ากว่า (10- 11 วัน)
บทคัดย่อ (EN): Species anddistribution of mangrove plants in Rajamuangala University of Technology Srivijaya, Trang Campus was investigated. Fourteen families, 16 genera and 20 species were recorded, Rhizophoraceac (3 gen, 5 spp), Acantaceae (I gen. 2 spp.), Meliaceae (1 gen. 2 spp.). The others composed of single species, viz., Pandanaceac, Rubiaceac, Sterculiaceac, Palmae, , Combretaceac, Pteridaceac, Flagellariaceac, Euphorbiaceac, Apocynaceac, Malvaceae and Tiliaceae. The main chemical composition from barks and lcaves were phenolic compounds. Tannin contents were present mainly in barks in highest proportion. Rhizophora macronata, Lumnitzera littorea, Ceriops tagal, Rhizophora apiculata. Bruguiera cylindrical, Scypiphora hydrophyllacea were processed to the aqueous extracts and detemmined for their efficiency to inhibit the bacterial growth (MIC). The results indicated that only bark extracts from R. macronata, L. littorea and C. tagal were capable to inhibit the growth of Streptococcus agalactiae and Vibrio wadnificus, while leave extracts from these 3 plants including bark and leave e. extracts from the rest 3 plant species had no reaction to the growth of Aeromonas Iydrophila. Acute toxicity of bark extracts from R. macronata, L. littorea and C. tagal upon Nile tilapia and sca bass were also dctermined for further treatment application. Their 72h-LCy, for Nile tilapia were 3,775 (3,320 - 4292) ppm, 610 (527-705) ppm and 520 (440 - 614) ppm, respectively. And 680 (608 - 760) ppm, 1,425 (1,363 - 1,489) ppm and 3,700 (3,513 - 3,896) ppm, respectively for sca bass. This suggested that R. macronata had the lowest toxicity to Nile tilapia, while L. littorea had the lowest toxicity to sea buss. Altcmately, R. macronata had the highest toxicity to sea bass, while L. litorea had the highest toxicity to Nile tilapia. Bark extracts from these 3 plant species were also prepared to determine the wound healing of Nile tilapia. The results showed that L. litorea (150 and 300 ppm) gave the highest efliciency for wound healing (7 days), while similar results could be observed in using R. macronata and C. tagal including the control unit, which completely healed in 10-1 1 days.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
องค์ประกอบและการออกฤทธิ์ของสารสกัดชีวภาพจากพืชป่าชายเลน และแนวทางการใช้ประโยชน์จากสารสกัดในการป้องกัน และควบคุม การระบาดของโรคและปรสิตในระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
30 กันยายน 2551
การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบกฤษณาเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ การวิจัยและพัฒนาสารสกัดจากว่านอึ่งเพื่อใช้ประโยชน์ในอาการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ระยะ ๔ ผลของสารสกัดบริสุทธิ์จากสมุนไพรต่อการยับยั้นการเจริญของเชื้อ Pythium insidiosum (คปก. ต่อยอด) การศึกษา " งาขี้ม้อน" พืชน้ำมันชนิดใหม่ กับการใช้ประโยชน์ ผลของการใช้สารสกัดชีวภาพเป็นแหล่งของธาตุอาหาร ต่อการเจริญเติบโตของผักสลัดที่ปลูกในระบบไฮโดรพอนิกส์ การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในการปลูกเอื้องแซะและการป้องกันและกำจัดโรคและศัตรู แผ่นชาละลายง่ายในน้ำที่ยังคงรักษากลิ่นรส และปริมาณสารที่มีคุณค่าทางโภชนเภสัช ผลของปุ๋ยมูลสัตว์ต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดำ ผลของสารสกัดจากรากกระพังโหมต่อการเกิดเจลซูริมิจากปลาชะโด ผลผลิตปลากะรังจุดฟ้าในระบบน้ำหมุนเวียน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก