สืบค้นงานวิจัย
การผลิตและการศึกษาคุณลักษณะของโปรตีนไฮโดรไลเสตจากกล้ามเนื้อปลาแป้นเขี้ยวโดยใช้ส่วนสกัดจากเครื่องในปลาดุกบิ๊กอุย
สรรพสิทธิ์ กล่อมเกล้า - มหาวิทยาลัยทักษิณ
ชื่อเรื่อง: การผลิตและการศึกษาคุณลักษณะของโปรตีนไฮโดรไลเสตจากกล้ามเนื้อปลาแป้นเขี้ยวโดยใช้ส่วนสกัดจากเครื่องในปลาดุกบิ๊กอุย
ชื่อเรื่อง (EN): Production and Characterization of Protein Hydrolysate from Toothed Ponyfish Muscle Using Hybrid Catfish Viscera Extract
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: สรรพสิทธิ์ กล่อมเกล้า
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: จากการศึกษากิจกรรมของเอนไซม?โปรติเนสจากเครื่องในปลาดุกบิ๊กอุย (Clarias macrocephalus ? Clarias gariepinus) พบว?าเอนไซม?มีพีเอชและอุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับการ ย?อยสลายกล?ามเนื้อปลาแป?นเขี้ยว (Gazza minuta) เท?ากับ 9.0 และ 50 องศาเซลเซียส ตามลําดับ เมื่อนําส?วนสกัดเครื่องในปลาดุกบิ๊กอุยมาใช?สําหรับการผลิตโปรตีนไฮโดรไลเสตจากกล?ามเนื้อปลา แป?นเขี้ยว(Gazza minuta) พบว?าความเข?มข?นของส?วนสกัดเอนไซม?เวลาในการทําปฏิกิริยา และ อัตราส?วนระหว?างกล?ามเนื้อปลาและบัฟเฟอร?มีผลต?อการย?อยสลายและการเก็บเกี่ยวไนโตรเจน (Nitrogen recovery; NR) (p<0.05) สภาวะที่เหมาะสมสําหรับการย?อยสลายกล?ามเนื้อปลาแป?นเขี้ยว คือ การใช?ส?วนสกัดเครื่องในปลาดุกบิ๊กอุย ร?อยละ 3.5 เวลาในการทําปฏิกิริยา 15 นาที และ อัตราส?วนระหว?างกล?ามเนื้อปลาและบัฟเฟอร?เท?ากับ 1:3 (น้ําหนัก/ปริมาตร)ค?าสหสัมพันธ?ระหว?าง ระดับการย?อยสลาย (Degree of hydrolysis; DH) และ NR มีค?าสูง (R2 =0.974) โปรตีนไฮโดรไล- เสตจากกล?ามเนื้อปลาแป?นเขี้ยวที่ผ?านการทําแห?งโดยการระเหิดมีปริมาณโปรตีนสูง (ร?อยละ 89.02 รายงานบนพื้นฐานน้ําหนักแห?ง) และมีสีเหลือง (L*=63.67, a*=6.33, b*=22.41) นอกจากนี้โปรตีน ไฮโดรไลเสตประกอบด?วยกรดอะมิโนจําเป?นในปริมาณสูง (ร?อยละ 48.22) โดยเฉพาะอย?างยิ่งอาร?- จินีนและไลซีน
บทคัดย่อ (EN): Proteolytic activity of viscera extract from hybrid catfish (Clarias macrocephalus ? Clarias gariepinus) was studied. The optimal pH and temperature were 9.0 and 50?C, respectively, when toothed ponyfish (Gazza minuta) muscle was used as a substrate. When viscera extract from hybrid catfish was used for the production of protein hydrolysate from toothed ponyfish muscle, the extract concentration, reaction time, and fish muscle/buffer ratio affected the hydrolysis and nitrogen recovery (NR) (p<0.05). Optimum conditions for toothed ponyfish muscle hydrolysis were 3.5% hybrid catfish viscera extract, 15 min reaction time and fish muscle/buffer ratio of 1:3 (w/v). High correlation between the degree of hydrolysis (DH) and NR (R2 =0.974) was observed. Freeze-dried hydrolysate had a high protein content (89.02%, dry weight basis) and it was brownish yellow in color (L*=63.67, a*=6.33, b*=22.41). The protein hydrolysate contained a high amount of essential amino acids (48.22%) and had arginine and lysine as the dominant amino acids.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยทักษิณ
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การผลิตและการศึกษาคุณลักษณะของโปรตีนไฮโดรไลเสตจากกล้ามเนื้อปลาแป้นเขี้ยวโดยใช้ส่วนสกัดจากเครื่องในปลาดุกบิ๊กอุย
มหาวิทยาลัยทักษิณ
30 กันยายน 2555
การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตที่ได้จากเศษเครื่องในปลานิลเพื่อทดแทนการใช้ปลาป่นในอาหารปลาดุกลูกผสม การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตที่ได้จากเศษเครื่องในปลานิลเพื่อทดแทนการใช้ปลาป่นในอาหารปลาดุกลูกผสม การศึกษาการเตรียมโปรตีนไฮโดรไลเสต และกิจกรรมการต้านออกซิเดชันของเครื่องในปลาจากโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปสัตว์น้ำ โปรตีนไฮโดรไลเสตจากเครื่องในปลาทูน่าพันธุ์โอแถบ (Katsuwonus pelamis): สมบัติเชิงหน้าที่และกิจกรรมการต้านออกซิเดชัน การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ้งกุ้งเป็นแหล่งโปรตีนเพื่อทดแทนปลาป่นในอาหารปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) สำเร็จรูป การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการจับปลาดุก การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ที่เหมาะสม เพื่อยกระดับผลผลิตปลาดุก โดยอาศัยข้อมูลจากเครื่องหมายพันธุกรรม กิจกรรมการต้านออกซิเดชันและสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนไฮโดรไลเสต จากถั่วสายพันธุ์พื้นเมือง พัทลุง ผลการเสริมโปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ้งกุ้งในอาหารสำเร็จรูปต่อการเจริญเติบโตของปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) การพัฒนาระบบน้ำหมุนเวียนสำหรับการเลี้ยงปลาดุกลูกผสม (Clarias macrocephalus X C. gariepinus)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก