สืบค้นงานวิจัย
สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
สนธยา บุญสุข, กำพล ลอยชื่น, ชลิต สง่างาม, ธุมาวดี ใจเย็น - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Neritic Tunas Resources Status and Fisheries in the Andaman Sea Coast of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝ??งทะเลอันดามัน โดยเก็บรวบรวมข?อมูลจากท?า เทียบเรือตลอดฝ??งทะเลอันดามัน ระหว?างเดือนมกราคม ถึงธันวาคม พ.ศ. 2555 พบว?าเครื่องมือหลักที่ใช?ทํา การประมงปลาโอคือ อวนดํา อวนล?อมจับป??นไฟ อวนล?อมซั้ง และอวนล?อมปลาโอ อัตราการจับปลาโอเฉลี่ย 377.10 360.26 522.35 และ1892.26 กิโลกรัม/วัน ตามลําดับ ประกอบด?วยปลาโอลาย (Euthynnus affinis), ปลาโอดํา(Thunnus tonggol), ปลาโอหลอด (Auxis rochei) and ปลาโอแกลบ (Auxis thazard) ร?อยละ 9.33 7.33 3.62 และ2.99 ตามลําดับ การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาโอลาย พบว?ามีความยาวอยู?ในช?วง 10.00-60.00 เซนติเมตร สัมประสิทธิ์การตายรวม (Z) สัมประสิทธิ์การตายโดยธรรมชาติ (M) และสัมประสิทธิ์การตายโดย การประมง (F) เท?ากับ 4.6939 1.0866 และ 3.6073 ต?อป? ตามลําดับ จํานวนที่เข?ามาทดแทนในเหล?งประมง เท?ากับ 6.9538 x 106 ตัว มีศักย?การผลิตสูงสุดที่ยั่งยืน (MSY) เท?ากับ 3,802 ตัน และมูลค?าสูงสุดที่ยั่งยืน (MEY) เท?ากับ 188.08 ล?านบาท ปลาโอแกลบ มีการแพร?กระจายความยาวอยู?ในช?วง 10.00-44.00 เซนติเมตร สัมประสิทธิ์การตายรวม สัมประสิทธิ์การตายโดยธรรมชาติเท?ากับ และสัมประสิทธิ์การตายโดยการประมง เท?ากับ 4.1244 1.2796 และ 2.8446 ต?อป? ตามลําดับ จํานวนที่เข?ามาทดแทนในเหล?งประมงเท?ากับ 10.65 x 106 ตัว ศักย?การผลิตสูงสุดที่ยั่งยืนเท?ากับ 925 ตัน และมูลค?าสูงสุดที่ยั่งยืน 30.89 ล?านบาท ส?วนปลาโอดํา มี การแพร?กระจายความยาวอยู?ในช?วง 10.00-63.00 เซนติเมตร สัมประสิทธิ์การตายรวม สัมประสิทธิ์การตาย โดยธรรมชาติเท?ากับ และสัมประสิทธิ์การตายโดยการประมงเท?ากับ 9.0635 1.1036 และ 7.9599 ต?อป? ตามลําดับ จํานวนที่เข?ามาทดแทนในเหล?งประมงเท?ากับ 4.0128 x 106 ตัว ศักย?การผลิตสูงสุดที่ยั่งยืนเท?ากับ 92,266 ตัน และมูลค?าสูงสุดที่ยั่งยืนเท?ากับ 92.27 ล?านบาท ตามลําดับ
บทคัดย่อ (EN): Neritic tunas status and fisheries in the Andaman Sea Coast of Thailand was studied by collecting data from purse seiners from January to December 2012. Purse seines of neritic tunas fisheries are basically classified in to 3 main types namely, Thai purse seine (TPS), light luring purse seine (LPS) and purse seine with fish aggregating devices (FADs) and Tuna purse seine (TUN). There are four species of neritic tunas commonly found in the Andaman sea coast of Thailand, namely kawakawa (Euthynnus affinis), longtail tuna (Thunnus tonggol), bullet tuna (Auxis rochei) and frigate tuna (Auxis thazard) shared percentage 9.33 7.33 3.62 and 2.99 respectively. Kawakawa size distribution was 10.00-60.00 cm. Total mortality coefficient (Z), natural mortality coefficient (M) and fishing mortality coefficient (F) were 4.6939 1.0866 and 3.6073 per year, respectively. Number of recruitment in fishing ground was 6.9538 x 106 fish 9,618,337 . The maximum sustainable yield (MSY) was 3,802 metrictons and the maximum sustainable economic yield (MEY) was 188.08 million baht. Frigate tuna size distribution was 10.00-44.00 cm. Total mortality coefficient (Z), natural mortality coefficient (M) and fishing mortality coefficient (F) were 4.1244 1.2796 and 2.8446 per year, respectively. Number of recruitment in fishing ground was 10.65 x 106 fish . The maximum sustainable yield (MSY) was 925 metrictons and the maximum sustainable economic yield (MEY) was 30.89 million baht. Longtail tuna size distribution was 10.00-63.00 cm. Total mortality coefficient (Z), natural mortality coefficient (M) and fishing mortality coefficient (F) were 9.0635 1.1036 and 7.9599 per year, respectively. Number of recruitment in fishing ground was 4.0128 x 106 fish . The maximum sustainable yield (MSY) was 92,266 metrictons and the maximum sustainable economic yield (MEY) was 92.27 million baht.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
กรมประมง
30 กันยายน 2556
กรมประมง
ทรัพยากรปลาโอในน่านน้ำไทย ทรัพยากรกั้งตั๊กแตนทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรกุ้งโอคักทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอในอ่าวไทย สมุทรศาสตร์การประมงบริเวณแหล่งประมงปลาทูน่าในทะเลอันดามัน กั้งตั๊กแตนจากการประมงพื้นบ้านทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทู Rastrelliger brachysoma (Bleeker, 1851) ทางฝั่งทะเลอันดามันตอนล่างของประเทศไทย สภาวะทรัพยากรสัตว์ทะเลและการประมงพาณิชย์ในเขตมาตรการอนุรักษ์สัตว์น้ำในฤดูปลาที่มีไข่และวางไข่ เลี้ยงลูกและพื้นที่ใกล้เคียงทางฝั่งทะเลอันดามัน การประยุกต์ใช้ระบบ Vessel Monitoring System (VMS) เพื่อวิเคราะห์สภาวะทรัพยากรและกิจกรรมทำประมงปลาผิวน้ำทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาปากคมชนิด Saurida undosquamis และ S. elongata ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก