สืบค้นงานวิจัย
ผลของไคตินและปุ๋ยหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของผักเชียงดา
พรรษชล มุงเมือง - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของไคตินและปุ๋ยหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของผักเชียงดา
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of chitin and bio-compost on growth of perrpioca (Gymnema innodorum decne L.)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พรรษชล มุงเมือง
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Pansachon Mungmuang
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของการใส่ไคตินและปุ้ยหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของผักเชียงดา ทำการทดลองที่คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง จังหวัดลำปาง ระหว่างเดือนมิถุนายน-กันยายน 2561 วางแผนการทดลองแบบ สุ่มอย่างสมบูรณ์ (Completely Randomized Design; CRD) จำนวน 7 ตำรับ ตำรับละ 10 ซ้ำ ประกอบด้วย ตำรับที่ 1 ไม่ใส่ไคตินและปุ้ยหมักชีวภาพ (T1) ใส่ไคติน 5กรัม (T2), ใส่ไคติน 10 กรัม (T3) และใส่ไคติน 15 กรัม (T4) และปุ้ยหมัก ชีวภาพ 5 กรัม (T5), 10 กรัม (T6) และ 15 กรัม (T7) ใส่ทุก ๆ 2 สัปดาห์ ผลการทดลอง พบว่าตำรับที่ T2, T3 และ T4 มี จำนวนใบ ความกว้างใบและเส้นรอบวงของยอดเพิ่มมากขึ้นตำรับที่ T2, T3, T4 และ T6 พบว่า มีเส้นรอบวงของลำต้น มากกว่า T1, 15 และ 17 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในตำรับที่ T3 มีขนาดความสูงลำต้นมากที่สุด การศึกษาครั้งนี้ พบว่า ตำรับที่ T4 มีจำนวนยอดต่อต้นของผักเชียงดาเพิ่มขึ้นมากที่สุด
บทคัดย่อ (EN): The study on effect of chitin and Bio-compost on growth of perrpioca (Gymnema innodorum decne L.) were investigated. The experiment was conducted at Faculty of Science, Lampang Rajabhat University, Lampang province, during June to September, 2018.The experimental design used Completely Randomized Design (CRD) with 12 replications. Seven treatments were consisted with the control treatment (T1), 5 g of chitin, (T2), 10 g of chitin, (T3), 15 g of chitin, (T4), 5 g of Bio-compost, (T5), 10 g of Bio-compost, (T6) and 15 g of Biocompost, (T7). Chitin and bio-compost were applied every 2 weeks. The results showed that the T2, T3 and T4 treatments had the greatest impact number of leaves, leaf width and apical bud circumference of perrpioca. The T2, T3, T4 and T6 treatments showed significantly higher in stem circumference compared to treatment 1, 5 and 7.In addition, the T3 treatment also showed the highest of stem height. This study showed that the T4 treatment had the highest increased in branch number of perrpioca.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2562
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=156_Hor49.pdf&id=3629&keeptrack=11
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของไคตินและปุ๋ยหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของผักเชียงดา
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2562
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของไคติน ปุ๋ยมูลวัว และปุ๋ยเคมี (15-15-15) ต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพดอกดาวเรือง อิทธิพลของปุ๋ยไนโตรเจนต่อการเจริญเติบโต ความเขียวของใบ และผลผลิตส่วนที่บริโภคได้ของผักเชียงดา ผลของการขาดน้ำในระยะการเจริญเติบโตต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ผลของปุ๋ยหมักเติมอากาศต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของดาวเรือง ผลของแมงกานีสต่อการเจริญเติบโตของลิ้นจี่ ผลของการตัดช่อดอกที่ช่วงระยะการเจริญเติบโตแตกต่างกัน ที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวฟ่างหวาน วัสดุรองพื้นต่างชนิดกันที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตปุ๋ยหมักจากไส้เดือนดิน ผลของอัตราการให้ปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไข่ ผลของต้นตอต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของแตงกวาญี่ปุ่น ผลการใช้บัวบกเสริมในอาหารสุกรระยะเจริญเติบโตที่มีต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโต ภูมิคุ้มกันโรค และองค์ประกอบของเลือด

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก