สืบค้นงานวิจัย
ผลของภูมิอากาศต่อการเจริญเติบโตและลักษณะทางสรีรวิทยา บางประการของยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
นิรมล แสงจันดา - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของภูมิอากาศต่อการเจริญเติบโตและลักษณะทางสรีรวิทยา บางประการของยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of climate on growth and physiological characteristics of rubber tree in the Northeast of Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นิรมล แสงจันดา
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Niramol Sangchanda
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของสภาพภูมิอากาศต่อการเจริญเติบโตและลักษณะทางสรีรวิทยาบางประการของยางพารา เพื่อให้ได้แนวทางในการคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา โดยทำการปลูกยางพาราจำนวน 40 ต้นในกระถาง ซึ่งมีวัสดุปลูกชนิดเดียวกัน แล้วนำไปวางในสภาพภูมิอากาศที่แตกต่างกัน 4 จังหวัดๆ ละ 10 กระถาง คือ หนองคาย, ชัยภูมิ, ขอนแก่น และบุรีรัมย์ ตั้งแต่เดือนมิถุนายน - ตุลาคม 2556 พบว่ายางพาราที่ปลูกในสภาพอากาศจังหวัดบุรีรัมย์มีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางลำต้นสูงที่สุด คือ 14.07 มิลลิเมตร แต่มีความหนาแน่นของปากใบน้อยที่สุด ส่วนยางพาราที่ปลูกในสภาพ ภูมิอากาศในจังหวัดขอนแก่นมีความสูงต้นสูงที่สุด แต่มีปริมาณคลอโรฟิลล์น้อยที่สุด คือ 47.3 SPAD Unit อย่างไรก็ตาม สภาพภูมิอากาศไม่มีผลต่อน้ำหนักใบและพื้นใบยางพารา
บทคัดย่อ (EN): The effect of climate on growth and physiological characteristics of rubber tree was investigated to provide guideline for the selection of suitable planting. The experiment was conducted by 40 potted trees with the same as growing material. Then 10 potted trees per area (province) were monitored of growth and physiological characteristics during June to October 2013. Location test was done in Nongkhai, Chaiyaphum, Khon Kaen and Buriram. The result were shown that the rubber trees planted in Buriram had highest in diameter (14.07 millimeters), but were lowest in stomata density. The rubber trees planted in Khon Kaen were the highest of height, but they were the lowest in chlorophyll content (47.3 SPAD Unit). However, the climate had no effect on leaf weight and leaf area.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=O26.pdf&id=1196&keeptrack=7
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของภูมิอากาศต่อการเจริญเติบโตและลักษณะทางสรีรวิทยา บางประการของยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2557
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของการให้น้ำชลประทานต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของยางพารา (ปีที่ 1) ความสัมพันธ์ของสภาพภูมิอากาศกับการเจริญเติบโตของยางพาราพันธุ์ RRIM600 ที่ปลูกภายใต้ระบบการให้น้ำ ผลของอุณหภูมิรากต่อการเจริญเติบโตของลิ้นจี่ ผลของอุณหภูมิกลางวันและกลางคืนต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกของปทุมมา ลักษณะการเจริญเติบโตของผลแก้วมังกร และปัจจัยบางประการที่มีผลต่อคุณภาพผล ผลของอามิเมทต่อการเจริญเติบโตของกิ่งตายางพาราพันธุ์ RRIM 600 ที่ปลูกในพื้นที่ดินทราย อิทธิพลของพื้นที่ปลูกต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของยางพาราสายพันธุ์ RRIM 600 และ RRIT 251 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลของความเข้มข้นนํ้าส้มควันไม้ต่อการเจริญเติบโตและมวลชีวภาพของกล้ายางพาราพันธุ์ RRIM 600 (Hevea brasiliensis Müll. Arg.) สรีรวิทยาการเจริญเติบโตและผลผลิตของทานตะวันลูกผสม ผลของการขาดน้ำในระยะการเจริญเติบโตต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวขาวดอกมะลิ 105

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก