สืบค้นงานวิจัย
อิทธิพลของสารเคลือบผิวที่รับประทานได้ที่มีต่อคุณภาพของลำไยแช่แข็ง
นันท์ชนก นันทะไชย - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ชื่อเรื่อง: อิทธิพลของสารเคลือบผิวที่รับประทานได้ที่มีต่อคุณภาพของลำไยแช่แข็ง
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of Edible Coating on Qualities of Frozen Longan
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นันท์ชนก นันทะไชย
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: อินทิรา ลิจันทร์พร
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษา คุณภาพของ สำยแช่เย็น ลำย แช่แข็งไม่ ปอกเปลือก และ ลำไยแช่แข็ง ปอก เปลือก โดยเก็บรักษาเป็นเวลานาน 4 สัปดาห์ และทำการวิเคราะห์คุณภาพทุกสัปดาห์ พ บว่า ลำไยแช่เย็นมีการสูญเสียน้ำหนักตลอดระยะเว วลาการเก็บรักษาเพียง 0.16 - 0.38% ซึ่งสูญเสีย น้อยที่สุดอย่างมีนัยสำคั ญเมื่อเปรียบลำไยแช่แข็งทั้งที่ปอกเปลือกและไม่ปอกเปลือก (P S 0.05) ลำไยแช่แข็งทั้งที่ปอกเปลือกและไม่ปอกเปลือกมีแนวโน้มค่ เ" สูงกว่าลำไยแช่เย็น ค่า อ" และ b ปริมาณกรดที่ไตเตรทได้ และปริมาณของแข็งที่ละลายได้ ของเนื้อลำไยทั้ง 3 สิ่งทดลองไม่มีความ แตกต่างกัน (P > 0.05) ความแน่นเนื้อของลำไยทั้ง 3 สิ่งท ดลองในสัปดาห์ ที่ 0 และ 1 ของการ เก็บรักษามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (P 0.05) เนื้อเยื่อของ ลำไยแช่เย็นที่ 4 C เกิดการแยกตัวของเซลล์เพียงเล็กน้อย ในขณะที่เนื้อเยื่อของสำไยแช่แข็งไม่ ปอกเปลือกและปอกเปลือก ถูกทำลายตั้งแต่ที่ระยะเวลาเริ่มตัน ของการเก็บรักษา เกิดการแยกตัว ของเซลล์เห็นได้อย่างชัดเจน ลำไยแช่เย็นมีคะแนนความชอบด้านสี ลักษณะปรากฏ เนื้อสัมผัส กลิ่นรส และความชอบรวมมากกว่าลำไยแช่แข็ง (P S 0.05) การศึกษาผลของสารเคลือบผิวที่รับประทานได้ 2 ชนิด คือ ไดโตซานและ เมธิลเซลลูโลส ที่ความเข้มขัน 3 ระดับ คือ 0.1, 0.5 และ 1.0% ต่อคุณภาพทางต้านกายภาพ เคมี และประสาท สัมผัส ของเนื้อลำไยแช่ แข็ง พบว่าการสูญเสียน้ำหนักของสำไยทั้ง 6 สิ่งทดลองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เล็กน้อยเมื่อระยะเวลาเก็บรักษานานขึ้น ชนิดและระดับความเข้มข้นของสารเลือบผิวไม่มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงสี ปริมาณกรดที่ใตเตรทได้ และดวามแน่นเนื้อ ของเนื้อลำไย ลำไยแช่แข็งที่ เดลือบเมริลซลลูโลสมีแนวโน้มค่ปริมาณของแข็งที่ละลายได้สูงกว่าสำไยเดลือบไโตซาน และที่ ระดับความเข้มข้นสูงขึ้นมีแนวโน้มดำปริมาณของแข็งที่ละลายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เชลล์เนื้อเยื่อของ ลำไยแช่แข็งที่เคลือบตัวยไโตซาน 1.0% เกิดการแยกตัวของเซลล์เห็นได้อย่างชัดเจน และเกิด ความเสียหายต่อเซลล์มากกว่าลำไยแช่แข็งที่เลือบวยไดโตซาน 0.1 และ 0.5% สำหรับเซลล์ ของลำไยแช่แข็งเคลือบด้วยเมริลเซลลูโลสความเข้มข้น1% นั้นถูกทำลายตั้งแต่ที่ระยะเวลา เริ่มตันของการเก็บรักษา ในขณะที่สำไยแช่ แข็งเลือบตัวยเมธิลซลกูโลส 0.5 และ 1.0% มีความ เสียหายของเซลล์เนื้อเยื่อน้อยมาก โดรงสร้างของเซลล์และการแยกตัวของเซลล์ของลำไยที่เดลือบ ด้วยเมธิลซลลูโลสเกิดการเปลี่ยนแปลงน้อยกว่าการเลือบด้วยไดโตซาน คะแนนดวามชอบด้านสี ลักษณะปรากฏ เนื้อสัมผัส กลิ่นรส และความชอบรวมของเลือบไดโตซาน 1.0% และเคลือบ การศึกษา คุณภาพของ สำยแช่เย็น ลำย แช่แข็งไม่ ปอกเปลือก และ ลำไยแช่แข็ง ปอก เปลือก โดยเก็บรักษาเป็นเวลานาน 4 สัปดาห์ และทำการวิเคราะห์คุณภาพทุกสัปดาห์ พ บว่า ลำไยแช่เย็นมีการสูญเสียน้ำหนักตลอดระยะเว วลาการเก็บรักษาเพียง 0.16 - 0.38% ซึ่งสูญเสีย น้อยที่สุดอย่างมีนัยสำคั ญเมื่อเปรียบลำไยแช่แข็งทั้งที่ปอกเปลือกและไม่ปอกเปลือก (P S 0.05) ลำไยแช่แข็งทั้งที่ปอกเปลือกและไม่ปอกเปลือกมีแนวโน้มค่ เ" สูงกว่าลำไยแช่เย็น ค่า อ" และ b ปริมาณกรดที่ไตเตรทได้ และปริมาณของแข็งที่ละลายได้ ของเนื้อลำไยทั้ง 3 สิ่งทดลองไม่มีความ แตกต่างกัน (P > 0.05) ความแน่นเนื้อของลำไยทั้ง 3 สิ่งท ดลองในสัปดาห์ ที่ 0 และ 1 ของการ เก็บรักษามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (P 0.05) เนื้อเยื่อของ ลำไยแช่เย็นที่ 4 C เกิดการแยกตัวของเซลล์เพียงเล็กน้อย ในขณะที่เนื้อเยื่อของสำไยแช่แข็งไม่ ปอกเปลือกและปอกเปลือก ถูกทำลายตั้งแต่ที่ระยะเวลาเริ่มตัน ของการเก็บรักษา เกิดการแยกตัว ของเซลล์เห็นได้อย่างชัดเจน ลำไยแช่เย็นมีคะแนนความชอบด้านสี ลักษณะปรากฏ เนื้อสัมผัส กลิ่นรส และความชอบรวมมากกว่าลำไยแช่แข็ง (P S 0.05) การศึกษาผลของสารเคลือบผิวที่รับประทานได้ 2 ชนิด คือ ไดโตซานและ เมธิลเซลลูโลส ที่ความเข้มขัน 3 ระดับ คือ 0.1, 0.5 และ 1.0% ต่อคุณภาพทางต้านกายภาพ เคมี และประสาท สัมผัส ของเนื้อลำไยแช่ แข็ง พบว่าการสูญเสียน้ำหนักของสำไยทั้ง 6 สิ่งทดลองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เล็กน้อยเมื่อระยะเวลาเก็บรักษานานขึ้น ชนิดและระดับความเข้มข้นของสารเลือบผิวไม่มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงสี ปริมาณกรดที่ใตเตรทได้ และดวามแน่นเนื้อ ของเนื้อลำไย ลำไยแช่แข็งที่ เดลือบเมริลซลลูโลสมีแนวโน้มค่ปริมาณของแข็งที่ละลายได้สูงกว่าสำไยเดลือบไโตซาน และที่ ระดับความเข้มข้นสูงขึ้นมีแนวโน้มดำปริมาณของแข็งที่ละลายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เชลล์เนื้อเยื่อของ ลำไยแช่แข็งที่เคลือบตัวยไโตซาน 1.0% เกิดการแยกตัวของเซลล์เห็นได้อย่างชัดเจน และเกิด ความเสียหายต่อเซลล์มากกว่าลำไยแช่แข็งที่เลือบวยไดโตซาน 0.1 และ 0.5% สำหรับเซลล์ ของลำไยแช่แข็งเคลือบด้วยเมริลเซลลูโลสความเข้มข้น1% นั้นถูกทำลายตั้งแต่ที่ระยะเวลา เริ่มตันของการเก็บรักษา ในขณะที่สำไยแช่ แข็งเลือบตัวยเมธิลซลกูโลส 0.5 และ 1.0% มีความ เสียหายของเซลล์เนื้อเยื่อน้อยมาก โดรงสร้างของเซลล์และการแยกตัวของเซลล์ของลำไยที่เดลือบ ด้วยเมธิลซลลูโลสเกิดการเปลี่ยนแปลงน้อยกว่าการเลือบด้วยไดโตซาน คะแนนดวามชอบด้านสี ลักษณะปรากฏ เนื้อสัมผัส กลิ่นรส และความชอบรวมของเลือบไดโตซาน 1.0% และเคลือบ
บทคัดย่อ (EN): The qualities of chilled longan, frozen longan with peel and frozen longan without peel that stored for 4 weeks were analyzed. The results shown that chilled longan had 0.16 - 0.38% weight loss significantly less than frozen fruit with and without peel (p S 0.05). Frozen Iongan with and without peel tended to have L* value higher than chilled longan. There were no significant differences in a* and b* values, total titratable acidity and total soluble solid among the treatments. At O and 1 week of storage, firmness of all treatments was significant difference (p 0.05). However, firmness of all treatments was not significant differences in 2, 3 and 4 weeks of storage. Microstructure of longan tissue using SEM technique showed that the cell separation of frozen fruits had obviously occurred since the beginning of the storage period. And for sensory evaluation, chilled longan had higher score in color, appearance, texture, flavor and overall linking than frozen fruit (p S 0.05). Effect of edible coatings (chitosan and methylcellulose) and the concentration of 0.1, 0.5 and 1.0% on qualities of frozen longan were analyzed. The results shown that weight loss of 6 treatments slightly increased as the storage period increasing. Type and concentration of edible coatings did not affect color change, total titratable acidity and firmness of the frozen fruits. Frozen longan coated with methylcellose peel tended to have total soluble solid higher than that coated with chitosan. And total soluble solid slightly increased as the increasing of coating concentration. Microstructure of longan tissue using SEM technique showed the cellular of frozen fruits coated with 1.0% chitosan was more damaged than those coated with 0.1 and 0.5% chitosan. Whereas, the cellular of frozen longan coated with 0.1% methylcellose was more damaged than those coated with 0.5 and 1.0% methyicellose. It was clearly shown that the separation of cell of fruit coated with methylcellose was less than fruit coated with chitosan. And for sensory evaluation, longan coated with 1.0% chitosan and 0.1 and 0.5% methylcellose had higher score in color, appearance, texture, flavor and overall linking than the other 3 treatments (p S 0.05). Effect of thawing at different temperatures (10, 20, 30 and 50C) on qualities of frozen longan was analyzed. Thawing at 10, 20 and 30C trended to increase weight loss of the fruit as the storage period increasing. Whereas, weight loss of fruit thawed at 50c significantly increase (p 0.05). Thawing temperature did not affect color change, total titratable acidity and firmness of the frozen fruits. Meanwhile, total soluble solid of all treatments significantly decrease as the storage period increasing (p < 0.05). Microstructure of longan tissue using SEM technique showed that the cellular of frozen fruits thawed at 10 and 20C were less damaged than those thawed at 30 and 50c. And for sensory evaluation, thawing at 10c trended to have higher score in color, appearance, texture, flavor and overall linking than the other 3 treatments
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
อิทธิพลของสารเคลือบผิวที่รับประทานได้ที่มีต่อคุณภาพของลำไยแช่แข็ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
30 กันยายน 2554
ผลของการใช้สารเคลือบผิวที่มีต่อคุณภาพและการเปลี่ยนแปลงสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพผลเสาวรสพันธุ์สีเหลือง การศึกษาปัจจัยการผลิตที่มีอิทธิพลต่อผลผลิตลำไยของเกษตรกรในจังหวัดลำพูนและจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาวิธีการควบคุมการออกดอกของลำไย การศึกษาวิธีการแก้ไขปัญหาการออกดอกเว้นปีของลำไย การพัฒนาวิธีการลดปริมาณสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ตกค้างในผลลำไยสดโดยการล้าง การรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2)กับผลลำไยสดด้วยวิธีหมุนเวียนอากาศแบบ forced-air การพัฒนาคุณภาพผลลำไยเพื่อเพิ่มราคาในการปลิดและห่อช่อผล ผลของสารเคลือบและวิธีการเคลือบที่มีต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานพิเศษลูกผสม การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการควบคุมศัตรูลำไยโดยไม่ใช้สารเคมี ผลของการเคลือบผิวด้วยไคโตซานต่อคุณภาพของผลสตอเบอรี่

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก