สืบค้นงานวิจัย
บทบาทของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในการเป็นที่พึ่งของชุมชนด้านการเกษตร
วิไลพร นามวงค์ - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: บทบาทของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในการเป็นที่พึ่งของชุมชนด้านการเกษตร
ชื่อเรื่อง (EN): The role of the Maejo University reliance on the agricultural community
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วิไลพร นามวงค์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Wilaiporn Namwong
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ธนัชพร เปรมเกษม
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Thanatchaporn Preamkasem
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: จากผลการวิจัยพบว่า ชุมชนมีการยอบรับต่อบทบาทของมหาวิทยาลัยในการเป็นที่พึ่งของชุมชนด้านการเกษตรอยู่ในระดับมาก ทั้ง 5 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการเรียนการสอน ด้านงานวิจัย ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และด้านการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อบทบาทของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในการเป็นที่พึ่งของชุมชนด้านการเกษตร จากผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อบทบาทของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในการเป็นที่พึ่งของชุมชนด้านการเกษตรในแต่ละองค์ประกอบนั้นเป็นปัจจัยที่อยู่ในระดับมาก โดยชุมชนยอมรับในปัจจัยด้านต่างๆ ประกอบด้วย ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยและประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งมามากกว่า 75 ปี ผลงานด้านองค์ความรู้ด้านการเกษตร การวิจัยและพัฒนาต่อยอดร่วมกันกับชุมชน เพื่อแก้ปัญหาในชุมชน ปรับปรุงขบวนการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้าและผลิตภัณฑ์ และเป็นมหาวิทยาลัยที่เป็นผู้ชี้นำ ชี้แนะเพื่อร่วมพัฒนาและแก้ไขปัญหาชุมชนบุคลากรของมหาวิทยาลัยซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถด้านการเกษตรเป็นที่ยอมรับของสังคม บัณฑิตของมหาวิทยาลัยผู้ซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับว่าเป็นผู้มีความรู้ อดทน สู้งาน มีคุณธรรมและจริยธรรม พร้อมที่ช่วยเหลือชุมชน และและเป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ เครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนด้านการเกษตร การให้ความร่วมมือกับชุมชนในการแสดงออกซึ่งการเข้าร่วมกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การให้ความร่วมมือในการแก้ปัญหาและการช่วยเหลืองานชุมชนอย่างสม่ำเสมอ การเผยแพร่ความรู้และสร้างความเข้าใจ ผ่านสื่อวิทยุ และสื่อท้องถิ่น การส่งเสริมกิจกรรมชมรมอาสาพัฒนาและบำเพ็ญประโยชน์ของนักศึกษาให้มีกิจกรรมเพื่อตอบสนองสังคมและชุมชนโดยรอบ
บทคัดย่อ (EN): From the research results, it was found that the community accepted the role of the Maejo University as reliance on agriculture at the high level, which consisted of five aspects: teaching and learning methodology, research, nurture of art and culture, social responsibility, and academic services. For factors affecting the role of Maejo University as reliance on the agricultural community, the results of this study suggested that the factors relevant to the acceptance of its reliance on the agricultural community were at the high level. The factors affecting the community acceptance included its reputation and long history of more than-75-year-eastablished institute, its knowledgeable output of agriculture, its academic guidance, and its research and development in which the agricultural community also participated in solving problems, improving production, and adding values of goods and products. As a leader of communities, the university provided suggestions for its staff community. whose staff members were socially acceptable to their agricultural knowledge, to join their development and problem-solving. Meanwhile, the university students were reputable and socially acceptable to their moral and ethical behaviors as well. They were not only tolerate, dedicated to working hard, and willing to offer voluntary help for the neighboring communities, but also were perceived as desirable graduates. The graduates participated in the agricultural network where they cooperated with the community by means of their exposure on nurturing art and culture, extending knowledge, solving problems, providing voluntary help regularly, and building shared understandings among the communities via radio media and local media. The activities of Volunteer and Development Camp and the volunteer works of students were supported and promoted simultaneously to the extent to which responded both the local and social communities surrounding the university.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: สำนักงานอธิการบดี
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.2-54-090
ชื่อแหล่งทุน: เงินนอกงบประมาณของหน่วยงานภายใน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555
เอกสารแนบ: http://webpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/research/2557/Wilaiporn_Namwong_2555/fulltext.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
บทบาทของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในการเป็นที่พึ่งของชุมชนด้านการเกษตร
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2555
เอกสารแนบ 1
ทัศนคติของชุมชนและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ การศึกษาระบบการเกษตรแบบยั่งยืนเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ระบบการศึกษาและชุมชนบ้านแม่โจ้อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ แนวโน้มแผนการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ในอนาคตระยะ 10 ปี (พ.ศ.2545-2554) โครงการวิจัยขนาดเล็กเรื่องยางพารา คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การศึกษาคุณสมบัติของดินในฟาร์ม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ การศึกษาโครงสร้างมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ การมีส่วนร่วมและความต้องการของบุคลากรคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่มีต่อการจัดทำโครงการสนองยุทธศาสตร์ การศึกษาความเป็นไปได้และการออกแบบระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเปรียบเทียบปริมาณขยะ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อการบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก