สืบค้นงานวิจัย
ต้นทุนและผลตอบแทนในการปลูกข้าวนาหยอดของเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี
ยศนนท์ ศรีวิจารย์ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ต้นทุนและผลตอบแทนในการปลูกข้าวนาหยอดของเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี
ชื่อเรื่อง (EN): Cost and Return of Direct Seeding of Farmers in Ubon Ratchathani
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ยศนนท์ ศรีวิจารย์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Yotsanon Sriwichan
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกข้าวนาหยอด นาดำ และ นาหว่าน ใช้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ปีการเพาะปลูก 2558/59 โดยการสุ่มตัวอย่าง แบบหลายขั้นตอน ร่วมกับการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ผลการศึกษาพบว่าเกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่เลือกปลูกข้าว แบบนาหยอดใช้ปัจจัยการผลิตด้านเมล็ดพันธุ์ 5.34 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้ปุ๋ยเคมีในอัตรา 17.91 กิโลกรัมต่อไร่ และมีต้นทุน การผลิตต่ำเท่ากับ 3,249.59 บาทต่อไร่ และได้รับผลตอบแทน 1,838.68 บาทต่อไร่สูงกว่าเกษตรกรที่ปลูกข้าวแบบนาดำ และนาหว่าน ที่ได้รับผลตอบแทนเท่ากับ 1,586.77 และ 552.40 บาทต่อไร่ ตามลำดับ ดังนั้นการให้ความรู้ในการปลูกข้าว แบบนาหยอดจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว และเพื่อเป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ให้กับ ศูนย์ข้าวชุมชน และเกษตรกรผู้ปลูกข้าวทั่วๆ ไปได้หันมาสนใจทำนาในรูปแบบนาหยอดเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้เกษตรกรได้รับ ผลตอบแทนสูงขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองได้ในระยะยาว
บทคัดย่อ (EN): This study aim to compare cost and return of rice predation between direct seeding, Transplanting and Broadcasting technique. Data was collected through in-depth interview of local farmers in Ubon Ratchathani provinces during 2015/16 year. Multi-stage sampling and purposive sampling. The results were found that farmers who produce direct seeding fechuigue urea seed, (5.34 kg per rai) and chemical fertilizer 17.91 kg per rai. and Cost of direct seeding rice predation is low est. (3249.59 baht per rai) So the get farmers got higher vat of rectum and broad casting technique. (1,838.68 baht per rai). While, the famer who produce froes panting and broadcasting fechuigue got rectum 1,586.77 baht per rai and 552.40 baht per rai respectively. Therefore, educating rice seeding technique becomes important to enhance the effectiveness of rice production and at so incentive to farmers to produce seed Rice Community Center and growers of conventional crops. Have turned their attention to farming in Direct Seeding is increasing. The achieve self-reliance in the long run.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=O085 Eco10.pdf&id=2694&keeptrack=1
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ต้นทุนและผลตอบแทนในการปลูกข้าวนาหยอดของเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2560
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันในจังหวัดชุมพร การเปรียบเทียบต้นทุนสุขภาพและต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าวโดยใช้สารเคมีและแบบอินทรีย์ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน กรณีศึกษา เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโดยใช้สารเคมี อำเภอดอกคำใต้และกลุ่มเกษตรก การวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินระหว่างการปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันในพื้นที่ อำเภอละแม จังหวัดชุมพร การวิเคราะห์ต้นทุน ผลตอบแทนทางการเงิน และประสิทธิภาพการผลิตทุเรียนพันธุ์หมอนทองในพื้นที่จังหวัด การเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตผักปลอดสารพิษกับการผลิตผักโดยใช้สารเคมีของเกษตรกรชุมชนวังตะกออำเภอหลังสวนจังหวัดชุมพร การวิเคราะห์ต้นทุนผลตอบแทนและประสิทธิภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจของภาคใต้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขัน การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลตอบแทนเงินทุนของสหกรณ์การเกษตรกรณีศึกษาสหกรณ์การเกษตรทับคล้อ จำกัด การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินเปรียบเทียบของการขายสินค้าเกษตรอินทรีย์ก่อนแปรรูปผลิตภัณฑ์และหลังแปรรูปผลิตภัณฑ์ การศึกษาต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการผลิตแมลงศัตรูธรรมชาติภายใต้ระบบห่วงโซ่มูลค่าเพื่อใช้ประโยชน์ในการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีในเชิงพาณิชย์ การศึกษาต้นทุน ผลตอบแทน จาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทสื้อกลุ่มทอไทลื้อ บ้านทุ่งกล้วย อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก