สืบค้นงานวิจัย
การใช้ประโยชน์จากใบถั่วมะแฮะเป็นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์ II.ผลของการตัดที่อายุต่าง ๆ ต่อปริมาณผลผลิตในปีที่ 2 และการใช้ใบในอาหารลูกโค
ปราโมช ศีตะโกเศศ - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การใช้ประโยชน์จากใบถั่วมะแฮะเป็นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์ II.ผลของการตัดที่อายุต่าง ๆ ต่อปริมาณผลผลิตในปีที่ 2 และการใช้ใบในอาหารลูกโค
ชื่อเรื่อง (EN): STUDY OF LEAF PROTEIN PRODUCTION FROM PIGEON PEA (Cajanus cajan) 2. EFFECTS OF CUTTING AGES ON PLANT YIELD IN 2'd YEAR AND THE UTILIZATION OF DRIED LEAVES IN DAIRY CALVES RATIONS
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ปราโมช ศีตะโกเศศ
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): PRAMOT SEETAKOSES
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การทดลองด้านปริมาณผลผลิตในปีที่ 2ทำในต้นถั่วมะแฮะที่มีความหนาแน่น 8,000 ต้นไร่ ผลการทดลองพบว่า อายุการตัดที่ 90 วัน ให้ผลผลิตแห้งที่กินได้สูงที่สุด (387.26 กก./ไข่) และปริมาณครูดโปรตีนสูงที่สุด (54.31 กก/ไข่) ส่วนความสูงในการตัดที่ศึกษาไม่มีผลทำให้ผลผลิตแห้งที่กินได้แตกต่างกันทางสถิติ แต่การตัดที่ความสูง 75 ชม. ให้ปริมาณครูดโปรตีนสูงที่สุด (4900 กก./ไร่) ทางด้านผลร่วมของอายุการตัด X ความสูงพบว่าการตัดที่อายุ 90 วันและความสูง 75 ชม. ให้ปริมาณผลผลิตแห้งที่กินได้สูงสุด (428.80 กก/ไข่) และปริมาณครูดโปรตีนสูงที่สุด (66.64 กก./ไร่) (P<0.05) การใช้ใบถั่วมะแฮะแห้งในอาหารลูกโคนมในระดับ 0, 10 และ 20% ของสูตรอาหารโดยทดแทนใบกระดิน ผลการทดลองพบว่าคำสัมประสิทธิ์การย่อยได้ของทุกโภชนะจากสูตรใบถั่วมะแฮะมีคำต่ำกว่าสูตรใบกระดิน และค่น้ำหนักเพิ่มเฉลี่ยของโคมีค่าเป็น 515.62, 454.25 และ 407.37 กรัม/วัน ตามลำดับ โดยไม่มีความแตกต่างทางสถิติ นอกจากนี้แล้วปริมาณการกินอาหารแต่ละสูตรของโคทดลองไม่มีความแตกต่างกันไม่ว่าจะแสดงในรูปของปริมาณการกินวัตถุแห้ง ปริมาณการกินในรูป %น้ำหนักตัวหรือในรูปกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักเมตาโบลิก
บทคัดย่อ (EN): The forage yield from pigeon pea in the second year was conducted in the plant with 8,000 plants/rai. The results showed that defoliation age at 90 days provided maximum dry edible parts (DEP, 387.26 kg/rai) and maximum crude protein (54.31 kg/rai). DEP were not affected by defoliation heights but the height of 75 cm. above the ground provided maximum crude protein yield (49.00 kg/rai). Interaction of age x height showed that the age of 90 days x 75 cm. height provided maximum DEP (428.80 kg/rai) and maximum crude protein (66.64 kg/rai) (P<0.05). Dry pigeon pea leaves were formulated at 0, 10 or 20% of the ration to substitute leucaena leaves. Digestibility coefficients of nutrients from those with pigeon pea leaves were lower than those with leucaena leaves. Average daily gain figures of dairy calves fed on the rations were 515.62, 454.25 and 407.37 g/day, respectively. (P>0.05) Intake figures in terms of total dm, % of body weight or gikg metabolic weight were not significant different among feeding groups.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะผลิตกรรมการเกษตร
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-37-017
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2537
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2537
เอกสารแนบ: http://webpac.library.mju.ac.th/mm/Abstract/research118230.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้ประโยชน์จากใบถั่วมะแฮะเป็นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์ II.ผลของการตัดที่อายุต่าง ๆ ต่อปริมาณผลผลิตในปีที่ 2 และการใช้ใบในอาหารลูกโค
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2537
เอกสารแนบ 1
การใช้ใบถั่วอาหารสัตว์ในอาหารลูกโคนม การใช้เมล็ดถั่วมะแฮะเพื่อเป็นอาหารสัตว์ปีก 3. ใช้ถั่วมะแฮะเป็นแหล่งของโปรตีน/พลังงานในอาหารไก่ไข่ การใช้ใบกระถินเทพาเป็นแหล่งโปรตีนในอาหารโคนม การใช้แป้งถั่วเหลืองเป็นแหล่งโปรตีนในอาหารแทนนมเลี้ยงลูกโค การใช้ใบมะละกอป่นในอาหารเลี้ยงปลานิลแดง (Oreochromis niloticus × O. mossambicus) เทคโนโลยีการผลิตบัวบกและการใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ การศึกษาการเจริญเติบโต และต้นทุนที่ใช้ของโคเนื้อระยะรุ่นในการใช้แปลงหญ้าผสมถั่วเป็นพืชอาหารสัตว์ การใช้รากข้าวม้อลท์เป็นแหล่งโปรตีนในอาหารสุกร การใช้เมล็ดถั่วเหลืองที่ไม่ผ่านการสกัดน้ำมันเป็นอาหารสัตว์ปีก 2. ไก่เนื้อ การศึกษาการใช้ประโยชน์จากเมล็ดมะขามป่นในอาหารปลานิลแดง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก