สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนากระบวนการผลิตแอนติบอดีชนิด IgY จากไข่ไก่เพื่อต้านทาน โรค PED ในสุกร
ไวรุจน์ เดชมหิทกุล - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อเรื่อง: การพัฒนากระบวนการผลิตแอนติบอดีชนิด IgY จากไข่ไก่เพื่อต้านทาน โรค PED ในสุกร
ชื่อเรื่อง (EN): Production of IgY antibody from eggs for Porcine Epidemic Diarrhea (PED) protection in swine
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ไวรุจน์ เดชมหิทกุล
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: เป็นโรคสุกรที่เกิดจากไวรัสที่มีความจำเพาะ โรคนี้สร้างความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ต่ออุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสุกรอย่างมาก ลูกสุกรที่ติดเชื้อจะมีอาการท้องเสียและ เสียชีวิต การแก้ปัญหาในปัจจุบันใช้วิธีปั๊มยาปฏิชีวนะ เข้าทางปากลูกสุกร ในs)kpxitgmL มีการห้ามใช้ยาปฏิชีวนะ IgYที่มีความจำเพาะต่อโรคจึงเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจที่จะนำมา เป็นทางเลือกในการป้องกันโรค การผสิต I9Y สำหรับ PED ทำได้โดยฉีดแอนติเจนเข้าไปใน ไก่ ไก่จะสร้างแอติบอดีและส่งผ่านมาในไข่แดง การทดลองนี้ศึกษาผลของความเข้มข้นของ ไวรัส ในช่วง 1X10 เซลล์/มล. ถึง 5X10 เซลล์/มล. และผลของการใช้ adjuvant พบว่า การใช้ adjuvant ทำให้ไตเตอร์สูงขึ้นอย่างนัยสำคัญกรณีที่มีการใช้ adjuvant ความ เข้มข้นของไวรัสในช่วงนี้จะไม่มีผล แต่ในกรณีที่มีการใช้ adjuvant การใช้ความเข้มข้น ของไวรัสที่สูงกว่าจะให้ ไตเตอร์ที่สูงกว่า การใช้ไวรัสที่ที่ความเข้มข้นใดก็ได้ในช่วงนี้ ผสม adjuvant ฉีดไก่ที่เวลาเริ่มต้น และ ฉีดกระตุ้นอีกสองครั้งที่สัปดาห์ที่ 4 และ 6 จะทำให้ได้ ไข่แดงที่มีไตเตอร์ต่อกรัมสูงถึง 20480 และคงที่อยู่ได้หลายสัปดาห์ เมื่อนำไปทำแห้งโดย วิธีอบแห้งแบบแช่แข็ง หรือโดยทำแห้งวิธีอบแห้งแบบพ่นฝอย พบว่าที่ได้ก็มีปริมาณไต เตอร์ต่อกรัมที่ 20480 เท่ากัน การอบแห้งโดยวิธีพ่นฝอยแม้จะใช้พลังงานน้อยกว่า แต่จะ มีการสูญเสียผลิตภัณฑ์ไปในระหว่างการทำแห้งมากกว่า การทดสอบระดับฟาร์มพบว่า เมื่อพิจารณาเฉพาะลูกสุกรจากแม่สุกรท้องแรกๆ การปั๊มปากด้วย I9Y ร่วมกับ ผสม IgY ในรางอาหาร ทำให้ลุกสุกรมีอัตรารอดชีวิตพอๆกับ การปั๊มปากด้วย ยาปฏิชีวนะ ตามวิธี ดั้งเดิม การผสม IgY ลงในอาหารราง ในกรณีที่มีการปั๊มปากด้วย ยาปฏิชีวนะ ตามวิธี ปกติทำให้ลูกสุกรมีอัตราการรอดชีวิตเพิ่มขึ้น และลูกสุกรที่ได้รับ gY ในอาหารรางจะมี อัตราการท้องเสียลดลงเป็นศูนย์ในวันหย่านม ดังนั้นจึงเห็นว่า I9Y จึงสามารถช่วยในการ ลดความอาการท้องเสียได้มีประสิทธิภาพ อัตราการผสม IgY ในอาหารสำหรับการทดลอง นี้คือ 2048 ไตเตอร์ต่อตัวต่อวัน ถ้าปรับให้ความเข้มข้นมากขึ้นกว่านี้น่จะสามารถเพิ่ม อัตราการรอดตายของลูกสุกร และอัตราการใช้ ยาปฏิชีวนะ ลงได้
บทคัดย่อ (EN): Porcine Epidemic Diarrhea (PED) is an infectious disease in swine caused by specific virus. It causes high economical losses in swine industry. Infected piglets will have a diarrhea and die. To cope with this problem, antibiotic is pumped to their mouths. However, antibiotic is now prohibited in many countries. Therefore, IgY is one of the suitable alternatives because it is more specific to the target pathogen. IgY is produced by injecting a specific antigen into chicken. Chicken will produce an antibody and pass to egg yolk. This research studies the effect of concentration of virus used as an antigen in the range of 1X10 cell/ml to 5x10" cell/ml and the effect of adjuvant addition. Result shows that adding adjuvant can significantly increase the titre of the yolk. Without adjuvant, higher concentration can cause the higher titre. However, with adjuvant, the effect of concentration is not significant. By injecting virus and any concentration in this range plus adjuvant at the starting point and then at week 4" and week 6" can raise the titre up to 20480 at week 8" and can maintain at this value for several weeks. Egs yolk can be dried either by freeze drying or spray drying. The titer of 20480 is maintained in both cases. Although the energy cost is higher in case of freeze drying, the percentage loss of product during drying is much less. When consider only a group of piglets born from young sows, more survival of piglets is gained with IgY than without IgY supplemented in food in case of maintaining antibiotic mouth pumping. Adding IgY in food and replacing antibiotic mouth feed with IgY give comparable survival with antibiotic mouth pumping alone. Percentage of piglets that have diarrhea on the day the sow is removed is reduced to zero when feed is supplemented with IgY. The supplement rate of IgY in feed in this study is 2048 titre per swine per day. If this is increased, it may cause more survival rate and may reduce antibiotic usage.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 538,900.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2555
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนากระบวนการผลิตแอนติบอดีชนิด IgY จากไข่ไก่เพื่อต้านทาน โรค PED ในสุกร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
30 กันยายน 2556
โครงการนำร่องการจัดทำระบบคอมพาร์ทเมนต์สุกร เพื่อรับรองสถานภาพปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยและโรคอหิวาต์สุกรเพื่อการส่งออก สูตรอาหารสุกร การตรวจหา Suilysin และโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงของ เชื้อสเตรปโตคอคคัส ซูอิส ที่แยกได้จากสุกรป่วย สุกรปกติที่เป็นพาหะของโรคและคนที่เกี่ยวข้องโดยใช้เทคนิค PCR ระดับโภชนะที่เหมาะสมในอาหารสำหรับสุกร4)สุกรเล็ก(นน.10-20 กก.) ระดับโภชนะที่เหมาะสมในอาหารสำหรับสุกร4)สุกรเล็ก(นน. 50-90กก.) การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซอพท์แวร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสุกรสาวทดแทนในฟาร์มสุกรพันธุ์ ระดับโภชนะที่เหมาะสมในอาหารสำหรับสุกร 3.ลูกสุกรหย่านม (นน.ประมาณ5-10 กก.) การพัฒนาชุดทดสอบ ELISA ด้วย electro elution แอนติเจน เพื่อหาแอนติบอดีต่อโรคทริคิโนซิสในสุกร การใช้โอโอไซต์ชนิดสด แช่สารละลายเกลือ และแช่แข็งที่ยังไม่พร้อมปฏิสนธิ และพร้อมปฏิสนธิเพื่อตรวจสอบความสามารถในการปฏิสนธิของตัวอสุจิพ่อสุกร การสร้างสุกรพันธุ์แลนด์เรซของกรมปศุสัตว์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก