สืบค้นงานวิจัย
การวิเคราะห์ชนิดของเม็ดสีแอนโทไซยานิน ในกล้วยไม้ป่า และกล้วยไม้ตัดดอกของไทย เพื่อการปรับปรุงพันธุ์
ยุพา มงคลสุข, ศรีเมฆ ชาวโพงพาง, พัชรียา บุญกอแก้ว, วิภารัตน์ พิทักษ์ด่านธรรม (รัตนะ), วิลาสินี กวีกิจธรรมกุล - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การวิเคราะห์ชนิดของเม็ดสีแอนโทไซยานิน ในกล้วยไม้ป่า และกล้วยไม้ตัดดอกของไทย เพื่อการปรับปรุงพันธุ์
ชื่อเรื่อง (EN): Anthocyanin Pigments Analysis in Wild Orchid and Cutting Orchids of Thailand for Genetic Improvement
บทคัดย่อ: การศึกษาน้ำหนักโมเลกุลของสารสกัดจากกลีบดอกกล้วยไม้ หวายสุรีย์พีช แวนดาพันธุ์ปากช่อง และแอสโคเซนดาพันธุ์สุขสำราญ ด้วยวิธีการ Liquid chromatography-mass spectrometry พบว่าสารสกัดจากกลีบดอกกล้วยไม้หวายสุรีย์พีช แสดงค่า Molecular ion ของ Peonidin-3-O-acetylglucoside สารสกัดจากกลีบดอกกล้วยไม้แวนดาพันธุ์ปากช่อง แสดง ค่า Molecular ion ของ Cyanidin-3-O-monoglucoside, Cyanidin-3,5-O-diglucoside, Cyanidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside, Malvidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside และ Delphinidin-3,5-O-diglucoside สารสกัดจากกลีบดอกกล้วยไม้แอสโคเซนดาพันธุ์สุขสำราญ แสดง ค่า Molecular ion ของ Cyanidin-3-O-monoglucoside, Cyanidin-3,5-O-diglucoside และ Cyanidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside สามารถเพิ่มปริมาณบางส่วนของ DFR cDNA ได้จากกล้วยไม้แวนดาพันธุ์ปากช่อง และแอสโคเซนดาพันธุ์สุขสำราญการศึกษาน้ำหนักโมเลกุลของสารสกัดจากกลีบดอกกล้วยไม้ หวายสุรีย์พีช แวนดาพันธุ์ปากช่อง และแอสโคเซนดาพันธุ์สุขสำราญ ด้วยวิธีการ Liquid chromatography-mass spectrometry พบว่าสารสกัดจากกลีบดอกกล้วยไม้หวายสุรีย์พีช แสดงค่า Molecular ion ของ Peonidin-3-O-acetylglucoside สารสกัดจากกลีบดอกกล้วยไม้แวนดาพันธุ์ปากช่อง แสดง ค่า Molecular ion ของ Cyanidin-3-O-monoglucoside, Cyanidin-3,5-O-diglucoside, Cyanidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside, Malvidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside และ Delphinidin-3,5-O-diglucoside สารสกัดจากกลีบดอกกล้วยไม้แอสโคเซนดาพันธุ์สุขสำราญ แสดง ค่า Molecular ion ของ Cyanidin-3-O-monoglucoside, Cyanidin-3,5-O-diglucoside และ Cyanidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside สามารถเพิ่มปริมาณบางส่วนของ DFR cDNA ได้จากกล้วยไม้แวนดาพันธุ์ปากช่อง และแอสโคเซนดาพันธุ์สุขสำราญ
บทคัดย่อ (EN): The molecular weight of anthocyanidin derivatives from flower of Dendrobium Suree Peach, Vanda Pakchong and Ascocenda Suksamran was analyzed by liquid chromatography-mass spectrometry. Dendrobium Suree Peach shows the major peak that relative to peonidin-3-O-acetylglucoside. Vanda Pakchong show five peaks that relative to Cyanidin-3-O-monoglucoside, Cyanidin-3,5-O-diglucoside, Cyanidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside, Malvidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside and Delphinidin-3,5-O-diglucoside. Ascocenda Suksamran show three peaks that relative to Cyanidin-3-O-monoglucoside, Cyanidin-3,5-O-diglucoside and Cyanidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside. Partial DFR cDNA was successfully amplified from Vanda Pakchong and Ascocenda Suksamran.The molecular weight of anthocyanidin derivatives from flower of Dendrobium Suree Peach, Vanda Pakchong and Ascocenda Suksamran was analyzed by liquid chromatography-mass spectrometry. Dendrobium Suree Peach shows the major peak that relative to peonidin-3-O-acetylglucoside. Vanda Pakchong show five peaks that relative to Cyanidin-3-O-monoglucoside, Cyanidin-3,5-O-diglucoside, Cyanidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside, Malvidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside and Delphinidin-3,5-O-diglucoside. Ascocenda Suksamran show three peaks that relative to Cyanidin-3-O-monoglucoside, Cyanidin-3,5-O-diglucoside and Cyanidin-3-O-coumarylglucoside-5-O-glucoside. Partial DFR cDNA was successfully amplified from Vanda Pakchong and Ascocenda Suksamran.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ:
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิเคราะห์ชนิดของเม็ดสีแอนโทไซยานิน ในกล้วยไม้ป่า และกล้วยไม้ตัดดอกของไทย เพื่อการปรับปรุงพันธุ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2555
การวิเคราะห์องค์ประกอบของแอนโทไซยานินและความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของดอกกล้วยไม้ช้าง การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้พื้นเมืองบางชนิดเพื่อการส่งออก การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้ด้วยวิธีกลายพันธุ์ การอนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้ป่าในอุทยานสัตว์ป่าอุบลราชธานี เทคนิคการสุ่มตรวจศัตรูพืชบางชนิดในกล้วยไม้ตัดดอกสำหรับส่งออก การเก็บรักษาเชื้อพันธุ์กล้วยไม้พื้นเมืองไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ดอกกล้วยไม้ป่าไทยจากโสนหางไก่ : กรณีศึกษา อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา การพัฒนาระบบฐานข้อมูลดิจิทัลพันธุ์กล้วยไม้ไทย การศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดทำธุรกิจกล้วยไม้ตัดดอกในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้สกุลม้าวิ่งเพื่อเป็นไม้ประดับกระถาง
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก