สืบค้นงานวิจัย
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
เพ็ญรัตน์ หงษ์วิทยากร - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เพ็ญรัตน์ หงษ์วิทยากร
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2545 เพื่อ สนองพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราบสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพื้นที่โครงการป่า อนุรักษ์บ้านโปง จำนวน 260 ไร่ ใน 6 กิจกรรม ประกอบด้วยการศึกษาความหลากหลายของ พรรณพืช โดยการสำรวจและเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืชทั้งพื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยแม่โ และ พื้นที่ที่จัดถวาย รวมทั้งการคัดเลือกพืชที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์นำมาปลูกเก็บรักษาพันธุกรรม ได้แก่ เจตมูลเพลิงแดง เจตมูลเพลิงขาว สัมป้อง ขมิ้นชัน ฝาง และบุก เพื่อศึกษาถึงปัญหาและ หาเทดนิคการปรับปรุงพันธุ์พืชให้มีคุณภาพสูง ในขณะเดียวกันก็มีการใช้เทคนิดการขยายพันธุ์ พืชในห้องทดลองโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เช่น เจตมูดเพลิงแดง บุกเนื้อทรายและสัมป้อง ในกิจกรรมสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชได้จัดทำขึ้นเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และ ประสบการณ์ตรงให้เยาชนและประชาชนทั่วไป ให้มีความเข้าใจและรู้จักความสำคัญของการใช้ ประโยชน์จากพันธุกรรมพืชแบบยั่งยืน ตลอดจนการสอดแทรกนันทนาการเชื่อมโยงกับ พฤติกรรมของเยาวชน ได้เกิดการกระตุ้นทางจิตใจต่อการสร้างความรักความหวงแหนใน ทรัพยากรธรรมชาติและพันธุ์พืช การจัดทำเส้นทางที่ใช้เป็นพื้นที่ศึกษาธรรมชาติเชิงนิเวศ เส้นทางศึกษาในสวนรุกชชาติในพื้นที่ใต้อ่างเก็บน้ำห้วยโจ้จำนวน 2 เส้นทาง โคยได้รับการ สนับสนุนงบประมาณบางส่วนจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
บทคัดย่อ (EN): The Plant Conservation Project in Banpong Forest (Maejo University) is implemented under the initiation of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, in a 260-rai in Banpong Forest. In 2002, six major activities were undertaken. For botanical study of native plant species diversity, the activity emphasized was the survey collection of plants used by Banpong villagers and of water plant species. For planting and crop maintenance, the emphasis was on the site construction for herbal plants. The activities implemented all throughout the year consist of conservation and utilizstion of plant species starting with the selection of crops that e potentially beneficial to Banpong forest. These include red Plumbago plaeng-daeng) white Plumbago (jetamoon plaeng-kao), sompong, Zingerber (pla), rmeric (khamin-chan), black varnish tree (rak-luang) ,sappan wood Amorphophallus (bouk), Based on the study of natural plant reproduction of the above- mentioned crops, problems encountered involved mostly plant reproduction and the increase in plant quantity, hence, natural plant reproductive techniques were improved in field trials. At the same time, plant tissue cutture was adopted in order to improve the method of plant reproduction together with specific explant selection for plant of each kind, and the selection of culture media and different period of adding growth control substances in test tubes. With similarity to an atmosphere of relaxation and nature study room, the site provides an opportunity to learn about plant species and natural environment based on experience and models. The emphasis is in having an experience with the site which is important to the building up of awareness towards the conservation of the environment and as one dimension in the conservation of plant species. On building of awareness ards conservation of plant genes, the main activity was on site improvem nature study around Huai Jo reservoir. The activity also included the promotion of ecotourism to allow greater youth participation in plant gene conservation, heid in cooperation with the Tourism Authority of Thailand.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะวิทยาศาสตร์
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-44-062
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2544
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2544
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2544
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การใช้ประโยชน์ทางด้านการแพทย์ และการเกษตรจากความหลากหลายของพืชและจุลินทรีย์เพื่อสนองพระราชดำริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ความหลากชนิดของสัตว์กลุ่มหอยในจังหวัดสระแก้ว (สนองพระราชดำริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) ความหลากชนิดของสัตว์กลุ่มหอยในจังหวัดปราจีนบุรี (สนองพระราชดำริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) (ชื่อเดิม ความหลากชนิดของสัตว์กลุ่มหอยใน ฤทธิ์ทางชีวภาพ เครื่องหมายโมเลกุล และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของเปราะ เพื่อสนองพระราชดำริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การเพาะเลี้ยงสาหร่ายสีน้ำตาลสกุลSargassum C. Agardh (ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี) การศึกษาอนุกรมวิธาน ความหลากหลาย และอนุรักษ์พันธุกรรมพืชที่ พบในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีเขาวังเขมร จังหวัดกาญจนบุรี โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชเขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก ระยะที่ 2 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา : ความหลากหลายทางพันธุกรรม การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชเขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก