สืบค้นงานวิจัย
การเจริญเติบโตของปลานิลที่อนุบาลด้วยอาหารผสมสาหร่ายเกลียวทองในระดับที่ต่างกัน
ฉัตรพงษ์ สุขเกื้อ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
ชื่อเรื่อง: การเจริญเติบโตของปลานิลที่อนุบาลด้วยอาหารผสมสาหร่ายเกลียวทองในระดับที่ต่างกัน
ชื่อเรื่อง (EN): Growth Performance of Tilapia (Oreochromis niloticus Linnaeus) Larvae Feed Diets Containing Different Levels of Spirulina (Spirulina Platensis Geitler)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ฉัตรพงษ์ สุขเกื้อ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การเจริญเติบโตของปลานิลที่อนุบาลด้วยอาหารผสมสาหร่ายเกลียวทองในระดับที่ต่างกันมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการเจริญเดิบโตและอัตราการรอดตายของปลานิลศึกษาอัตราการเปลี่ยนอาหาร เป็นเนื้อ ผลผลิตรวมของปลานิล และศึกษาด้นทุนในการผลิตปลานิล การทดลองมี 2 การทดลอง คืออนุบาลใน บ่อคอนกรีตกลมและอนุบาลในกระชังในบ่อดิน ระยะเวลาในการทคลอง 2 เดือน ในระดับความหนาแน่น 50, 75 และ 100 ตัวต่อตารางเมตร อาหารที่ให้เป็นอาหารที่ไม่ผสมสาหร่ายเกลียวทอง อาหารที่ผสมด้วยสาหร่าย เกลียวทอง 5%, 10 % และ 15 % ผลการทคลองพบว่าอาหารที่ผสมด้วยสาหร่ายเกลียวทอง 10 % และ 15 % มี ความแตกต่างกับปลานิลที่เลี้ยงด้วยสูตรอาหารที่ผสมด้วยสาหร่ายเกลียวทอง ร % และอาหารที่ไม่ผสมสาหร่าย เกลียวทองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <0.05) อัตราการรอดตายของปลานิลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อที่เลี้ยงด้วยอาหารที่ผสมด้วยสาหร่ายเกลียวทอง 10 % และ 15 %มีความ แตกต่างกับปลานิลที่เลี้ยงด้วยสูตรอาหารที่ผสมด้วยสาหร่ายเกลียวทอง 5 % และอาหารที่ไม่ผสมสาหร่ายเกลียว ทองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-0.05) ผลผลิตรวมของปลานิลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ต้นทุน ในการอนุบาลปลานิลพบว่าสูตรอาหารที่ผสมสาหร่ายเกลียวทอง 15 %, 10 % และ 5 % มีต้นทุนในการผลิตที่ สูงขึ้นตามลำคับ
บทคัดย่อ (EN): Growth performance of Tilapia (Oreochromis niloticus Linnaeus) larvae fed diets containing different levels of Spirulina (Spirulina Platensis Geitler). Evaluation of growth weight, survival rates, feed conversion ratio, mass product and return were analysis by using Spirulina as feed supplement. Two experiments were conducted in tank and hapa distributed at different stocking densities of 100, 150, and 200 per square meter and per hapa. Feeding regimen for nursing Tilapia included commercial feed alone and supplementation of commercial feed with 5%, 10% and 15% levels of Spirulina. Results revealed that commercial feed fed Tilapia with 10 % and 15 % levels of Spirulina were growth better than fed with commercial feed alone and commercial feed fed with 5% levels of Spirulina were significantly (P<0.05) different. Survival rates of Tilapia fed with commercial feed alone and supplementation of commercial feed fed with 5%, 10% and 15% levels of Spirulina were not significantly different. Feed conversion ratio that commercial feed fed Tilapia with 10 % and 15 % levels of Spirulina were growth better than fed with commercial feed alone and commercial feed fed Tilapia with 5% levels of Spirulina were significantly (P<0.05) different. Mass production of Tilapia were not significantly different. Production cost of Spirulina- supplement feed for nursing Tilapia were found that commercial feed fed with 15%, 10% and 5% levels of Spirulina were high price respectively.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเจริญเติบโตของปลานิลที่อนุบาลด้วยอาหารผสมสาหร่ายเกลียวทองในระดับที่ต่างกัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
30 กันยายน 2557
ผลของการใช้สารเสริมในอาหารปลานิลที่มีต่อการเจริญเติบโตและสุขภาพ ผลของเศษปลาหมักต่อการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหารและสารอาหารของปลานิลแดง (Oreochromis niloticus x O. mossambicus) การใช้นิวคลีโอไทด์ในอาหารต่อการเจริญเติบโตและอัตรารอดของปลานิล ผลของการใช้แลคโตบาซิลลัสและมันเทศต่อการเจริญเติบโตและองค์ประกอบเลือดของปลานิล ผลของการเสริมแหนเป็ด ในอาหารต่อการเจริญเติบโตของปลานิลแดง การปรับปรุงลักษณะการเจริญเติบโตปลานิลแดงสายพันธุ์อุตรดิตถ์ การปรับปรุงลักษณะการเจริญเติบโตปลานิลในระบบการเลี้ยงแบบน้ำหมุนเวียน (ระยะที่ 1) การศึกษาสมรรถนะการเจริญเติบโตของปลานิล (Oreochromis niloticus) และปลาโมง (Pongosius bocourti) ในการทดลองเลี้ยงปลาในพื้นที่ที่มีปัญหาดินเค็ม การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ในอาหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการย่อย ประสิทธิภาพการใช้สารอาหาร และอัตราการเจริญเติบโตของปลานิลแปลงเพศ ระดับที่เหมาะสมของกรดไขมันไม่อิ่มตัวกลุ่มดีเอชเอ(Docosahexaenoic acid; DHA) ต่อการเจริญเติบโตของปลานิล (Oreochromis niloticus)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก