สืบค้นงานวิจัย
ศึกษาการใช้แหนแดงเป็นแหล่งไนโตรเจนในการผลิตพืชผักอินทรีย์และเกษตรไร้สารพิษ
สุวิมล พุทธจรรยาวงศ์ - กรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อเรื่อง: ศึกษาการใช้แหนแดงเป็นแหล่งไนโตรเจนในการผลิตพืชผักอินทรีย์และเกษตรไร้สารพิษ
ชื่อเรื่อง (EN): Study of Using Azolla as a Source of Nitrogen for Organic farming and non-toxic agricultural
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุวิมล พุทธจรรยาวงศ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาการใช้แหนแดงเป็นแหล่งไนโตรเจนในการผลิตพืชผักอินทรีย์และเกษตรไร้สารพิษ ในชุดดินสันทราย ดำเนินการ ณ บ้านศาลา ตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริมจังหวัดเชียงใหม่ มีการวาง แผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block ประกอบด้วย 5 วิธีการทดลอง จำนวน 4 ซ้ำ ดังนี้ วิธีการควบคุม วิธีการแหนแดง วิธีการ /2 แหนแดง + / ปุยหมัก วิธีการปุ้ยหมัก และวิธีการปุ๋ย พืชสด (ปอเทือง) โดยในทุกวิธีการจะใส่ในปริมาณที่ให้ไนโตรเจนเท่ากับ 8.81 กิโลกรัมต่อไร่ ผลการทดลอง พบว่า แหนแดงสามารถนำมาใช้เพื่อเป็นแหล่งไนโตรเจนในลักษณะปุ้ยพืชสด สำหรับการผลิตพืชผัก โดยสามารถให้ผลผลิตใกล้เคียงกับการใช้ปุ๋ยหมัก ผลผลิตเฉลี่ยคิดเป็น 74.74 เปอร์เซ็นต์เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการใส่ปุยหมัก ส่วนเ มื่อเปรียบเทียบวิธีการใช้แหนแดงกับวิธีการใช้ ปอเทืองเป็นปัยพืชสด ผลผลิตคะน้าในวิธีการใช้แหนแดงมากกว่าวิธีการใช้ปอเทือง คิดเป็น 155.70 เปอร์เซ็นต์ สำหรับสมบัติดินของทุกวิธีการทดลอง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างดินเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย อินทรียวัตถุเปลี่ยนแปลงลดลงเล็กน้อย ปริมาณโพแทสเชียมที่แลกเปลี่ยนได้มีค่าลดลง แต่ปริมาณ ฟอสฟอรัสที่สามารถป็นประโยชน์ได้ในวิธีการใส่ปุ๋ยหมัก และวิธีการใส่แหนแดงร่วมกับปุยหมักมีค่า เพิ่มขึ้นแตกต่างจากวิธีการอื่นที่เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย แต่เนื่องจากปริมาณฟอสฟอรัสในปุยหมักที่ ใส่มีปริมาณมากกว่าวิธีการอื่น
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศึกษาการใช้แหนแดงเป็นแหล่งไนโตรเจนในการผลิตพืชผักอินทรีย์และเกษตรไร้สารพิษ
กรมพัฒนาที่ดิน
30 กันยายน 2553
การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างไซยาโนแบคทีเรียกับแหนแดงเพื่อใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการตรึงไนโตรเจนในนาข้าวอินทรีย์ การจัดการดินที่เหมาะสมด้วยพืชปุ๋ยสดร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ และแหนแดงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน และผลผลิตของผักคะน้า ข้าวโพดฝักอ่อนภายใต้การปลูกในระบบเกษตรอินทรีย์ในกลุ่มชุดดินที่ 7 การใช้แหนแดง (Azolla microphylla) ร่วมกับปุ๋ยไนโตรเจนต่อการเจริญเติบโต และปริมาณธาตุอาหารในใบปาล์มน้ำมัน การศึกษาศักยภาพการปลดปล่อยไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์ของวิธีการจัดการดินแบบเกษตรอินทรีย์ในชุดดินสันป่าตอง การวิเคราะห์ศักยภาพด้านการตลาดและการผลิตของผู้ผลิตผักอินทรีย์ในกลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านต้นเฮือด ตำบลบ้านแหวน อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร การผลิตเชื้อรา Trichoderma spp.เพื่อใช้เป็นสารชีวินทรีย์ สำหรับเกษตรอินทรีย์ การผลิตผักหวานบ้าน เพื่อการค้าโดยวิธีเกษตรอินทรีย์ โครงการวิจัยการวิจัยและพัฒนาการผลิตพันธุ์พืชเพื่อการผลิตพืชระบบเกษตรอินทรีย์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก