สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ย่อยสลายสารพิษตกค้าง
รุ่งนภา ก่อประดิษฐ์สกุล - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ย่อยสลายสารพิษตกค้าง
ชื่อเรื่อง (EN): Product Development of Pesticide Degrading Microbial
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รุ่งนภา ก่อประดิษฐ์สกุล
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: จากการคัดเลือกแบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายสารคลอไพริฟอสจาก Bacillus spp. 9 สายพันธุ์ที่ทดสอบเบื้องต้นแล้วว่าสามารถย่อยสลายสารคารโบฟูรานได้ โดยเลี้ยงใน minimal mediumที่ผสม กลูโคส 1%และคลอไพริฟอส 10 ppm บ่มเชื้อโดยวิธีเขย่าที่ 150 รอบต่อนาที นาน 3 วัน ตรวจวิเคราะห์โดย Gas Chromatography พบว่า Bacillus thuringiensis K033 มีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถลดปริมาณสารคลอไพริฟอสลงเหลือเพียง 24% จึงเลือก Bacillus thuringiensis K033 และ B.thuringiensis P027 ชึ่งเป็นแบคทีเรียที่เคยมีรายงานว่าสามารถย่อยสลายสารคารโบฟูรานได้ดีที่สุด นำมาศึกษาและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ย่อยสลายสารพิษต่อไป โดยเลี้ยงแบคทีเรียทั้ง 2 ชนิดบนอาหาร nutrient agar ที่ผสมวุ้น 2% บ่มที่อุณหภูมิ 37 ?Cนาน 5วัน เก็บสปอร์อิสระที่ได้ไปทำผลิตภัณฑ์ในรูปของแข็งโดยผสมสารแขวนลอยของสปอร์อิสระกับตัวพา 3 ชนิดคือ China clay clay จากจังหวัดกาญจนบุรีและขุยมะพร้าว ส่วนผลิตภัณฑ์ของเหลวเตรียมโดยผสมสปอร์อิสระกับน้ำกลั่นนึ่งฆ่าเชื้อ กลีเซอรอล 10% และกลีเซอรอล 20% พบว่าในผลิตภัณฑ์ผงแห้งจากตัวพาทั้ง3ชนิด ตรวจพบปริมาณเซลล์แบคทีเรียในระดับ108-109cfu/g ภายหลังการเก็บนาน 6 เดือน (จากปริมาณเซลล์เริ่มต้น 109cfu/g) ส่วนในผลิตภัณฑ์ของเหลวปริมาณเซลล์ลดลง 1-2 log cycle หลังการเก็บนาน 3 เดือน จากการทดสอบประสิทธิภาพการย่อยสลายสารคลอไพริฟอส ของ B. thuringiensis K033 ในสภาพธรรมชาติที่ไม่มีอาหารเลี้ยงเชื้อ โดยผสมแบคทีเรียให้มีปริมาณเซลล์เริ่มต้น107-108 cfu/ml ในสารละลายคลอไพริฟอส 4 ppm และตรวจวิเคราะห์โดย Gas Chromatography ภายหลัง 5 วัน พบว่ามีปริมาณสารพิษลดลงมากกว่า50% เมื่อศึกษาประสิทธิภาพในการดูดซับเชื้อแบคทีเรียทั้ง 2ชนิดนี้ในดินกำแพงแสนเปรียบเทียบกับขุยมะพร้าวโดยทดสอบใน column แก้วจำลองสภาพธรรมชาติพบว่าขุยมะพร้าวสามารถดูดซับเชื้อแบคทีเรียได้มากกว่าจากการคัดเลือกแบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายสารคลอไพริฟอสจาก Bacillus spp. 9 สายพันธุ์ที่ทดสอบเบื้องต้นแล้วว่าสามารถย่อยสลายสารคารโบฟูรานได้ โดยเลี้ยงใน minimal mediumที่ผสม กลูโคส 1%และคลอไพริฟอส 10 ppm บ่มเชื้อโดยวิธีเขย่าที่ 150 รอบต่อนาที นาน 3 วัน ตรวจวิเคราะห์โดย Gas Chromatography พบว่า Bacillus thuringiensis K033 มีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถลดปริมาณสารคลอไพริฟอสลงเหลือเพียง 24% จึงเลือก Bacillus thuringiensis K033 และ B.thuringiensis P027 ชึ่งเป็นแบคทีเรียที่เคยมีรายงานว่าสามารถย่อยสลายสารคารโบฟูรานได้ดีที่สุด นำมาศึกษาและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ย่อยสลายสารพิษต่อไป โดยเลี้ยงแบคทีเรียทั้ง 2 ชนิดบนอาหาร nutrient agar ที่ผสมวุ้น 2% บ่มที่อุณหภูมิ 37 ?Cนาน 5วัน เก็บสปอร์อิสระที่ได้ไปทำผลิตภัณฑ์ในรูปของแข็งโดยผสมสารแขวนลอยของสปอร์อิสระกับตัวพา 3 ชนิดคือ China clay clay จากจังหวัดกาญจนบุรีและขุยมะพร้าว ส่วนผลิตภัณฑ์ของเหลวเตรียมโดยผสมสปอร์อิสระกับน้ำกลั่นนึ่งฆ่าเชื้อ กลีเซอรอล 10% และกลีเซอรอล 20% พบว่าในผลิตภัณฑ์ผงแห้งจากตัวพาทั้ง3ชนิด ตรวจพบปริมาณเซลล์แบคทีเรียในระดับ108-109cfu/g ภายหลังการเก็บนาน 6 เดือน (จากปริมาณเซลล์เริ่มต้น 109cfu/g) ส่วนในผลิตภัณฑ์ของเหลวปริมาณเซลล์ลดลง 1-2 log cycle หลังการเก็บนาน 3 เดือน จากการทดสอบประสิทธิภาพการย่อยสลายสารคลอไพริฟอส ของ B. thuringiensis K033 ในสภาพธรรมชาติที่ไม่มีอาหารเลี้ยงเชื้อ โดยผสมแบคทีเรียให้มีปริมาณเซลล์เริ่มต้น107-108 cfu/ml ในสารละลายคลอไพริฟอส 4 ppm และตรวจวิเคราะห์โดย Gas Chromatography ภายหลัง 5 วัน พบว่ามีปริมาณสารพิษลดลงมากกว่า50% เมื่อศึกษาประสิทธิภาพในการดูดซับเชื้อแบคทีเรียทั้ง 2ชนิดนี้ในดินกำแพงแสนเปรียบเทียบกับขุยมะพร้าวโดยทดสอบใน column แก้วจำลองสภาพธรรมชาติพบว่าขุยมะพร้าวสามารถดูดซับเชื้อแบคทีเรียได้มากกว่า
บทคัดย่อ (EN): Chlorpyrifos degrading strains were selected from 9 strains of Bacillus spp. that previously screened based on Carbofuran degrading capability. Each Bacillus spp. Strain was grown on minimal medium supplemented with 1 % glucose and 10 ppm Chlorpyrifos, shaking at 150 rpm at room temperature(30 ?3?C)for 3 days and analysed by Gas Chromatography. The result showed that B.thuringiensis K033 could highest reduce chlorpyrifos to 24%. Thus, B.thuringiensis K033 and B.thuringiensis P027 were selected for further study on application as pesticide degrading microbial product. Free spore of those bacteria were obtained from culturing on Nutrient Agar supplemented with 2% agar and incubated at 37?c for 5 days.Solid form of microbial products were conducted by mixing free spore suspension with china clay, clay from Karnjanaburi province and coconut husk where as aqueous products were conducted by suspending free spore in distilled water, 10% and 20% glycerol.It was found that bacterial population of K033 and P027 from those 3 kinds of solid carrier still remain at 108-109cfu gm?? from initial stage ca. 109cfu gm?? after 6 months where as from aqueous products decreased 1-2 log cycle within 3 months storage. Confirmed efficiency test of chlorpyrifos degradation by mixing B. thuringiensis K033 at initial cell number at 107-108 cfu/ml under nutrient-free condition with chlorpyrifos 4 ppm. Results of analysis by Gas chromatograph revealed that 50 percentage of chlorpyrifos reduction were found in 5 days. Comparative study of bacterial cell absorption activity between coconut husk and Kamphaengsaen (KPS) soil in glass column showed that coconut husk indicated better absorption of bacterial cells than KPS soils. Chlorpyrifos degrading strains were selected from 9 strains of Bacillus spp. that previously screened based on Carbofuran degrading capability. Each Bacillus spp. Strain was grown on minimal medium supplemented with 1 % glucose and 10 ppm Chlorpyrifos, shaking at 150 rpm at room temperature(30 ?3?C)for 3 days and analysed by Gas Chromatography. The result showed that B.thuringiensis K033 could highest reduce chlorpyrifos to 24%. Thus, B.thuringiensis K033 and B.thuringiensis P027 were selected for further study on application as pesticide degrading microbial product. Free spore of those bacteria were obtained from culturing on Nutrient Agar supplemented with 2% agar and incubated at 37?c for 5 days.Solid form of microbial products were conducted by mixing free spore suspension with china clay, clay from Karnjanaburi province and coconut husk where as aqueous products were conducted by suspending free spore in distilled water, 10% and 20% glycerol.It was found that bacterial population of K033 and P027 from those 3 kinds of solid carrier still remain at 108-109cfu gm?? from initial stage ca. 109cfu gm?? after 6 months where as from aqueous products decreased 1-2 log cycle within 3 months storage. Confirmed efficiency test of chlorpyrifos degradation by mixing B. thuringiensis K033 at initial cell number at 107-108 cfu/ml under nutrient-free condition with chlorpyrifos 4 ppm. Results of analysis by Gas chromatograph revealed that 50 percentage of chlorpyrifos reduction were found in 5 days. Comparative study of bacterial cell absorption activity between coconut husk and Kamphaengsaen (KPS) soil in glass column showed that coconut husk indicated better absorption of bacterial cells than KPS soils.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ย่อยสลายสารพิษตกค้าง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2553
เทคนิคการเพิ่มอัตราการย่อยสลายทางชีวภาพของสารพิษตกค้างในดินเพื่อลดระยะเวลาการ ปรับเปลี่ยนสู่ระบบเกษตรอินทรีย์โดยการใช้ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินและน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน การพัฒนาวิธีการตรวจสอบสารพิษตกค้างทางการเกษตรโดยใช้สารเรืองแสง ประสิทธิภาพการย่อยสลายหินฟอสเฟตด้วยจุลินทรีย์ในสารเร่ง พด.9 ความหลากหลายของเห็ดที่มีความสามารถย่อยสลายสารพิษตกค้างทางการ เกษตรกลุ่ม Chlorinated Hydrocarbon Compounds : 2,4 PCB โครงการวิจัยและพัฒนาเทคนิคการตรวจสอบรับรองปัจจัยการผลิตทางการเกษตร : สารพิษตกค้าง ปุ๋ย ดิน น้ำ สารสกัดฮอร์โมน และผลิตภัณฑ์วัตถุมีพิษทางการเกษตร โครงการวิจัยการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในพืช ดิน น้ำ และคุณภาพของผลิตภัณฑ์วัตถุมีพิษการเกษตร การพัฒนาคาร์บอนชีวภาพ (ถ่านชีวภาพที่ตรึงด้วยจุลินทรีย์) สำหรับการย่อยสลายสารเคมีปราบศัตรูพืชในน้ำ การศึกษาปริมาณสารพิษตกค้างในสินค้าเกษตรส่งออกไปสาธารณรัฐเกาหลี การตรวจสอบสารตกค้างกลุ่มนีโอนิโคตินอยด์เพื่อรองรับมาตรการที่เข้มงวดในการกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง (Maximum Residue Limits) (MRLs) การสำรวจหาสารพิษตกค้างในเนื้อเป็ดไล่ทุ่งในจังหวัดกำแพงเพชร

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก