สืบค้นงานวิจัย
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาปากคมชนิด Saurida undosquamis และ S. elongata ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย
สนธยา บุญสุข, สัมพันธ์ ปานจรัตน์, สิชล หอยมุข, มนตรี สุมณฑา, วรรลี สิงห์ธงยาม - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาปากคมชนิด Saurida undosquamis และ S. elongata ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Stock Assessment of Lizardfishes, Saurida undosquamis and S. elongata along the Andaman Sea Coast of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาปากคมชนิดSaurida undosquamis และS. elongata ทางฝ??ง ทะเลอันดามันของไทยโดยรวบรวมข?อมูลจากแพปลาในพื้นที่จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ตตรังและสตูล ระหว?าง เดือนมกราคม-ธันวาคม 2550 จากเรือประมงอวนลาก 3 ประเภท คือเรืออวนลากแผ?นตะเฆ?ขนาดความยาว เรือน?อยกว?า 14 เมตรและขนาดความยาวเรือ 14-18 เมตรและเรืออวนลากคู?ซึ่งมีแหล?งทําการประมงตลอด แนวชายฝ??งทะเลอันดามัน พบว?า ปลาปากคมชนิด S. undosquamis มีอัตราการจับเฉลี่ยเท?ากับ 0.03 2.39 และ 1.27 กิโลกรัม/ชั่วโมงคิดเป?นร?อยละ 8.33 68.88 และ 52.85 ของปลาปากคมที่จับได?ทั้งหมดตามลําดับ มี สมการการเติบโต คือ Lt =44.50 [1-e-1.06(t+0.0410)] ค?าสัมประสิทธิ์การตายรวม (Z) เท?ากับ 9.29 ต?อป?ค?า สัมประสิทธิ์การตายโดยธรรมชาติ (M) เท?ากับ 1.70 ต?อป?และค?าสัมประสิทธิ์การตายจากการทําประมง (F) เท?ากับ 7.59 ต?อป?ขนาดความยาวแรกของปลาปากคมชนิดนี้ที่เข?ามาทดแทนในแหล?งประมงมีขนาดความยาว ตลอดตัว 5.50 เซนติเมตรจํานวน 49.37 ล?านตัว ส?วนปลาปากคมชนิดS. elongata มีอัตราการจับเฉลี่ยเท?ากับ 0.21 0.92 และ 0.43 กิโลกรัม/ชั่วโมงคิดเป?นร?อยละ 59.17 26.37 และ 17.72 ของปลาปากคมที่จับได?ทั้งหมด ตามลําดับ สมการการเจริญเติบโตคือ Lt =47.85[1-e-0.76(t+0.0000)] ค?าสัมประสิทธิ์การตายรวม ค?าสัมประสิทธิ์การ ตายโดยธรรมชาติและค?าสัมประสิทธิ์การตายจากการทําประมงเท?ากับ 4.64 1.34 และ 3.30 ต?อป?ตามลําดับ ขนาดความยาวแรกที่เข?ามาทดแทนในแหล?งประมงมีขนาดความยาวตลอดตัว 3.00 เซนติเมตร จํานวน 21.62 ล?านตัวผลผลิตสูงสุดที่ยั่งยืน (MSY) และมูลค?าสูงสุดที่ยั่งยืน (MEY) โดยรวมของปลาปากคมทั้งสองชนิด เท?ากับ 1,477.97 ตัน และ 20.61 ล?านบาท ที่ระดับการลงแรงประมง (F-factor) เท?ากับ 0.35 และ 0.30 ตามลําดับ การปรับลดการลงแรงประมงของเรือประมงอวนลากทุกประเภทลงร?อยละ 70 จะทําให?ได?ผลผลิต และมูลค?าเพิ่มขึ้นใกล?เคียงกับผลผลิตและมูลค?าสูงสุดที่ยั่งยืน หรือการปรับเปลี่ยนขนาดตาอวนก?นถุงเป?น 5.00 เซนติเมตรจะทําให?ได?ผลผลิตและมูลค?าเพิ่มขึ้นสูงสุดเท?ากับ 2,658.78 ตัน และ 42.09 ล?านบาท ตามลําดับ
บทคัดย่อ (EN): Stock Assessment of lizardfishes, Saurida undosquamis and S. elongata along the Andaman Sea Coast of Thailand was conducted at fishing ports along the coastline in Ranong, Phuket, Trang and Satun Provinces during January to December 2007 from less than 14 m otter board trawlers, 14-18 m otter board trawlers and pair trawlers. The catch rates of S. undosquamis of the three fishing gears were 0.03, 2.39 and 1.27 kg/hr, and S. undosquamis contributed for 8.33, 68.88 and 52.85% of the total catch of lizardfishes, respectively. The growth equation of S. undosquamis was Lt =44.50[1-e-1.06(t+0.0410)]; the total mortality coefficient (Z) was 9.29 per year; the natural mortality coefficient (M) was 1.70 per year, and the fishing mortality coefficient (F) was 7.59 per year. The first sizes of S. undosquamis recruited in fishing grounds was 5.50 cm with 49.37 million individuals. The catch rates of S. elongata from the three fishing gears were 0.21, 0.92 and 0.43 kg/hr, and S. elongate contributed for 59.17, 26.37 and 17.72% of the total catch of lizardfishes, respectively. The growth equation of S. elongata was Lt=47.85[1-e-0.76(t+0.0000)] and the Z, M and F were 4.64, 1.34 and 3.30 per year, respectively. The first sizes range of S. elongata recruited in fishing grounds was 3.00 cm with 21.62 million individuals. The maximum sustainable yield (MSY) and the maximum sustainable economic yield (MEY) of the both of lizardfishes were 1,477.97 tons and 20.61 million baht at the fishing effort of the F-factors of 0.35 and 0.30, respectively. Thus, to achieve the MSY or the MEY, the fishing effort of the three fishing gears has to be reduced for 70% of the fishing effort in 2007. Besides, the enlarging of cod-end mesh size from 2.50 to 5.00 cm will be able to maximize the yield and the economic return to 2,658.78 tons and 42.09 million baht, respectively.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาปากคมชนิด Saurida undosquamis และ S. elongata ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย
กรมประมง
30 กันยายน 2551
กรมประมง
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาปากคมชนิด Saurida elongata และ S. undosquamis ในอ่าวไทย ทรัพยากรกั้งตั๊กแตนทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรกุ้งโอคักทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทู Rastrelliger brachysoma (Bleeker, 1851) ทางฝั่งทะเลอันดามันตอนล่างของประเทศไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ปลาปากคมหางจุด Saurida undosquamis (Richardson, 1848) ในอ่าวไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรกั้งกระดาน (Thenus unimaculatus Burton and Davie, 2007) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาหลังเขียวชนิด Sardinella gibbosa (Bleeker,1849) ฝั่งทะเลอันดามันของไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาตาหวานจุด (Priacanthus tayenus Richardson, 1846) ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทูแขกครีบยาว Decapterus maruadsi (Temminck & Schlegel, 1843) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก