สืบค้นงานวิจัย
โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตส้มโอหอมหาดใหญ่ในภาคใต้ตอนล่าง
ชนินทร์ ศิริขันตยกุล - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตส้มโอหอมหาดใหญ่ในภาคใต้ตอนล่าง
ชื่อเรื่อง (EN): Research and Delvelopment of Pummelo cv. Hom Hat Yai Productivity Technologies in the Lower South.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ชนินทร์ ศิริขันตยกุล
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตสัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง โดยดำเนินการศึกษา สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูกสัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ให้มีคุณภาพ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ของดินบางประการต่อผลผลิตและคุณภาพของสัมโอพันธุ์หอมหา าดใหญ่ในพื้นที่จังหวัดสงขลา ดำเนินการในแหล่งปลูก สัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ 5 อำเภอของจังหวัดสงขลา ได้แก่ อ.หาดใหญ่ (HV) อ.รัตภูมิ(RP) อ.คลองหอยโข่ง(KHK อ.บางกลำ (3K)และ อ.สะเดา(SD) ระหว่างปี 2554-2556 โดยการศึกษาสภาพแวล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูก สัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ ดำเนินการจำนวน 10 แปลง เพื่อประเมินสภาพแวตล้อมที่เหมาะสมต่อการผสิตสัมโอ พันธุ์หอมหาดใหญ่ให้มีคุณภาพ พบว่า อัตราการเจริญเติบโตทางลำตันและอัตราการเจริญของผลสัมโอพันธุ์หอม หาดใหญ่ในแต่ละแหล่งปลูกไม่มีความแตกต่างกัน แต่มีแนวโน้มว่าแปลง KHK จะมีอัตราการเจริญทางลำตันและ อัตราการเจริญของผลน้อยที่สุต สำหรับคุณภาพผลสัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ พบว่า ผลสัมโอที่ปลูกในแหล่งปลูก BK1 และ BK2 เป็นสัมโอที่มีคุณภาพสูงที่สุดเมื่อเทียบกับแหล่งปลูกอื่นๆ โดยมีสีเนื้อผลแ แดงเข้ม (R384) ในขณะที่ แหล่งปลูกอื่นมีสีเนื้อผลแตงชมพู (R38C, P38D)มีปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ (TSS) เป็น 12.11 และ 11.60 องศาบริกซ์ มีอัตราส่วนระหว่างเปอร์เซ็นต์กรดที่ไทเทร รตได้กับปริมาณขอ องแข็งที่ละลายน้ำได้สูงที่สุด คือ 24.88 และ 22.75 ตามลำดับ สำหรับเนื้อสัมผัส รสชาติ และความหอมก็อยู่ในเกณฑ์สูงที่สุต และจากการประเมินความ แตกต่างทางพันธุกรรมของสัมโอพัพธุ์หอมหาดใหญ่โดยวิธีอาร์เฮพีดี (RAPD)โดยใช้ไพรเมอร์ 4 ชนิด คือ OPP- 03OPR-150PC-09 และ OPB-10พบว่า สัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่จากทุกแหล่งปลูกให้แถบดีเอ็นเอที่เหมือนกันใน ทุกไพรเมอร์นั่นแสดงว่าสัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ที่ปลูกในแหล่งปลูกต่างๆไม่มีความแปรปรวนทางพันธุกรรม และ ความแปรปรวนขอ องลักษณะผลผลิตที่แตกต่างกันนั้นเกิดจากสภาพแวต.อมแล ละการจัดการที่แตกต่างกัน การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของศินบางประการต่อผลผลิตและคุณภาพของสัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ใม พื้นที่จังหวัดสงขลา เพื่อให้ได้ข้อมูลสมบัติของดินบางประการที่เป็นแหล่งปลูกสัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่และเพื่อให้ได้ ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของดินบางประการกับปริมาณผลผลิตและคุณภาพผลผลิตของสัมโอพันธุ์หอม หาดใหญ่ในจังหวัดสงขลา โดยทำการเก็บข้อมูลสมบัติทางเคมีของดิน ปริมาณธาตุอาหารในดิน สมบัติทาง กายภาพของดิน ปริมาณผลผลิตและคุณภาพผลผลิตสัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ในแปลงเกษตรกร จำนวน 20 แปลง ผลการดำเนินงาน พบว่า ดินในแหล่งปลูกสัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ในพื้นที่จังหวัดสงขลา มีสมบัติของดินแตกต่าง กัน โดยดินที่ระดับ 0-15 เซนติเมตร ส่วนใหญ่มีค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด (PH=4.5-5.5) มีปริมาณอินทรียวัตถุใน ตินระดับปานกลาง (OM=1.5-2.5 96) แต่มีปริมาณฟอสฟอรัสและปริมาณโพแท ทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินใน ระดับตำ (avail.P=5-15 mg/kg, avail.K=50-100 mg/kg) ทุกแปลงมีปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินใน ระดับต่ำ (Exch.Ca=c5.0 cmol/kg) ส่วนใหญ่มีปริมาณแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินระดับต่ำ (Exch.Mz=50 mg/kg) มี ปริมาณแมงกานีสที่เป็นประโยชน์ในตินในระดับสูง (avail. Mn=20-50 mg/kg) มีปริมาณทองแดงที่เป็นประโยชน์ ในดินระดับปานกลาง (avail.Cu=1-2 mgkg) แต่โดยส่วนใหญ่มีปริมาณสังก*สีที่เป็นประโยชน์ในดิน ระต่ำ (avail.z2n=1-2 mg/xg) ตินชั้นบนโดยส่วนใหญ่เป็นดินเนื้อละเอียดปานกลาง ดินเป็นดินตี้น และมีความหนาแน่น รวมของดินอยู่ในระดับที่ไม่จำกัดการเจริญเติบโตของพืซ นอกจากนี้ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน(OM) มีความสัมพันธ์ กับปริมาณผล์ผลิตอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ โดยสามารถพยากรณ์ปริมาณผลผลิตได้ร้อยละ 04.25 ปริมาณ แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน(Mg) ความหนาแน่นรวมของดิน(.b) และความลึกของดิน(D) มีความสัมพันธ์กับ ปริมาณผลผลิตอย่างมีนัยสำคัญทงสถิติ โดยสามารถพยากรณ์ปริมาณผลผลิตได้ร้อยละ 37.63 28.47 และ 25.76 ตามลำดับปริมาณแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน(Mปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน(Ca)และ ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน(K มีความสัมพันธ์กับน้ำหนักผลผลิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดย สามารถพยากรณ์น้ำหนักผลผลิตได้ร้อยละ 34.90 33.94 และ 26.21 ตามลำตับความลึกของตินมีความสัมพันธ์กับ ปริมาณเนื้อผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยสามารถพยากรณ์ปริมาณเนื้อผลได้ร้อยละ 25.01 ปริมาณฟอสฟอรัส (P) และแคลเซียม(Ca)ในดินมีความสัมพันธ์ร่วมกับความหนาเปลือกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยสามารถพยากรณ์ ความหนาเปลือกได้ร้อยละ 38.15 ศึกษาผล ของปุยชีวภาพไมโคไรซ่าต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของสัมโอหอมหาดใหญ่ ดำเนินการทดลองในแปลงเกษตรกรอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และที่ศูนย์วิจัยพืชสวนตรัง อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง ช่วงเดือนตุลาคม 2554 ถึง เดือนกันยายน 2556 เพื่อศึกษาการเจริญเติบโต วางแผนการทดลอง แบบ RCB จำนวน 5 ซ้ำ ประกอบตัวย 4 กรรมวิธี คือ กรรมวิธีที่ 1 ใส่ปุยเดมีสูตร 15-15-15 ตามอัตราแนะนำ (T1) กรรมวิธีที่ 2 ใส่เชื้อไมโคไรซำาตามอัตราแนะนำ (T2) กรรมวิธีที่ 3 ใส่เชื้อไมโคไรซ่าตามคำแนะนำและ ปุยเคมีสูตร 15-15-15 ปริมาณ 3/4 ของอัตราแน นะนำ (T3) และกรรมวิธีที่ 4 ใส่เชื้อไมโคไรซ่าตามคำแนะนำ และปุยเศมีสูตร 15-15-15 ปริมาณ 1/2 ของอัตราแนะนำ (T4) พบว่า ในพื้นที่จังหวัดสงขลา แปลงสัมโอหอม หาดใหญ่ของนายอรัญ เทพคุณ มีการปฏิบัติ ดูแลรักษา ห้ปุยตามกรรมวิธีต่างๆ ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 ใส่ปุยเคมีสูตร 15-15-15 ตามอัตราแน ะนำ คือ ใส่ 1/2 ของอายุตัน หรือในปีแรกใส่ 0.5 กิโลกรัมต่อตัน ปีละ 2 ครั้ง ในปีต่อๆไป โส่ 1-2 กิโลกรัม ปีละ 2-3 ครั้ง กรรมวิธีที่ 2 ใส่เชื้อไมโคไรซ่าตามคำแนะนำ คือ 10 กรัม (ประมาณ 1 ช้อนโต๊ช) ต่อตันผสมกับตินปลูก กรรมวิธีที่ 3 ใส่เชื้อไมโคไรซ่าตามคำแนะนำ + ปัยเคมีสูตร 15-15-15 3/4 ของอัตรา แนะนำ กรรมวิธีที่ 4 โส่เชื้อไมโคไรซ่าตามคำแนะนำ + ปุ๋ยเศมีสูตร 15-15-15 1/2 ของอัตราแนะนำ บันทึกการ เจริญเติยโตทางด้านลำตัน พบว่า มีการเจริญเติบโตแตกต่างกันในแต่ละกรรมวิธี และมีแนวโน้มว่ากรรมวิธีที่ 3 มี การเจริญเติบโตมากกว่าอีก 3 กรรมวิธี สำรวจโรคแ มลงพบโรคแคงเกอร์และราดำ ป้องกันกำจัดโดยใช้สารเคมื ฉีตพ่น และการตัดแต่งกิ่ง ในพื้นที่จังหวัดตรัง การใส่ปุยชีวภาพไมโคไรซ่าทำให้กรเจริญเติบโตทางลำตันตัน เพิ่มขึ้นมากกว่าไมใส่ปุยชีวภาพไมโคไรซ่า โตยความสูงตันและความยาวกิ่งมีการเจริญเติบโตเทิ่มขึ้นแต่ไม่มีความ แตกต่างกันทงสถิติ แต่เส้นรอบวงโคนตันและเส้นรอยวงโคนที่ความสูง 30 เซนติเมตร มีวามแตกต่างกันทาง สถิติที่ระตับความเชื่อมั่น 9596 โดยการปฏิบัติตามกร รรมวิธีที่ 3 ใส่เชื้อไมโคไรซ่าตามคำแนะนำและปุยเคมีสูตร 15-15-15 ปริมาณ 3/0 ของอัตราแนะนำ (T3)ทำห้ขนาดเส้นรอบวงโคนตันและเส้นรอบวงโคนที่ความสูง 30 เซนติเมตร เพิ่มขึ้นมากที่สุด ศึกษากา ละเปลี่ยนแปลงธาตุอาหารของผลสัมโอหอมหาดใหญ่ (Ctrus maxima (Burm.) Merrll) cv. Hom Hat yai ในสวนเกษตรกร อำเภอหาตใหญ่ จังหวัดสงขลา ช่วงเดือนตุลาคม 2554 ถึง เดือน พฤษภาคม 2555 เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและความเข้มข้นของธาตุอาหารในผลสัมโอตั้งแต่ดอกบานจนอายุผล 8 เดือนหลังดอกบาน พบว่า การเจริญของผลสัมโอเป็นแบบ simple sigmoid curve ในช่วงแรกตั้งแต่ดอกบาน ถึง 1 เดือนหลังดอกบาน ผลมีการเจริญเติบโตอย่างช้าๆ เป็นการพัฒนาส่วนของเปลือกมากกว่าเนื้อ ช่วงที่สอง ตั้งแต่ 1-6 เดือนหลังดอกบาน ผลมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็นการพัฒนาของทุกส่วนทั้งเปลือก เนื้อ และ คุณภาพของผล และช่วงที่สามตั้งแต่ 6-8 เดือนหลังดอกบาน การเจริญเติบโตของผลชัาลง ระยะที่เหมาะสมใน การเก็บเกี่ยวสัมโอหอมหาดใหญ่เริ่มตั้งแต่อายุ 6.5 เดือนหลังดอกบาน มีปริมาณของของแข็งที่ละลายน้ำได้ (TSS) สูงสุดเฉลี่ย 9.25 องศาบริกซ์ ปริมาณของกรดที่ไตเตรทได้ (TA) เฉลี่ย 0.42 96 มีอัตราส่วนปริมาณของแข็งที่ ละลายน้ำได้ต่อปริมาณกรดที่ใตเตรทได้ (TSS/TA) เฉลี่ย 21.29 ความเข้มขันธาตุอาหารต่อน้ำหนักแห้งใน เปลือกและเ เนื้อลดลงเมื่ออายุการเจริญเติบโตเมขึ้น โดยมีความเข้มขันของธาตุอาหารหลัก โพแทสเซียม (K) มาก ที่สุด รองลงมาคือ ในโตรเจน (N) แคลเซียม (Ca) ฟอสฟอรัส (P) แมกนีเซียม (Mg และกำมะถัน (S) ตามลำดับ ความเข้มขันของธาตุอาหารมีในเนื้อมากกว่าในเปลือก ยกเว้นธาตุแคลเซียมและแมกนีเซียมที่มีความเข้มขันใน เปลือกมากกว่าในเนื้อสัมโฮพันธุ์หอมหาดใหญ่ (Citrus maxima Burm. Merril) cv. Hom Hat Yai เป็นไม้ผลที่สำคัญของ พื้นที่ภาคใต้ ปัญหาสำคัญประการหนึ่งในเรื่องความอุตมสมบูรณ์ของดินคือ การขาดธาตุไนโตรเจนแล และสังกะสี ถึง ศึกษาอิทธิพลของธาตุไนโตรเจนแลสังกะสีต่อสัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ในสวนเกษตรกร ตำบลควนลัง อำเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ระหว่างตุลาคม พ.ศ. 2553 - กัยายน พ.ศ. 2556 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 5 ซ้ำ ประกอบตัวย 4 สิ่งทตลอง คือ ไมห้ธาตุอาหาร ให้ปุยยูเรียอัตรา 1 ก็โลกรัมต่อตัน ให้ชิงค์ซัลเฟต (ZnรO) อัตรา 0.1 เปอร์เซ็นต์ และปุยยูเรียร่วมกับซิงค์ซัลเฟต เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตการให้ผลผลิตและความ เข้มขันของธาตุอาหารในใบของสัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ พบว่า การเจริญเติบโตของใบมีความแตกต่างกันในต้นสัม โอที่ด้รับปุ๋ยยูเรียร่วมกับซิงค์ซัลเฟตมีการผลิใบใหม่มากที่สุด ในต้านการให้ผลผลิต จำนวนช่อดอกต่อต้น จำนวน ดอกต่อช่อ ผลต่อช่อ และเปอร์เซ็นต์การติดผล คุณภาพทางกายภาพ น้ำหนักผล ความหนาเปลือกและเนื้อของผล ไม่มีความแตกต่างกัน แต่คุณภาพทางเคมีของผสมีความแตกต่างกัน โดยการให้ซิงค์ซัลเฟตมีปริมาณของแข็งที่ ละลายน้ำได้ (Tss) และอัตราส่วนปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ต่อปริมาณของกรดที่ใตเตรทได้ (TSS/TA) สูงสุด การให้ปุยยูเรียมีปริมาณของกรดที่ตตรทได้ (TA) สูงสุด ความเข้มของธาตุอาหารในใบการให้ซิงค์ซัลเฟต และ ยูเรียร่วมกับซิงค์ซัลเฟตทำให้ความเข้มขันของธาตุสังกะสีในใบเพิ่มขึ้น การจัดการที่เหมาะสมในการฟื้นฟูสวนสัมโอหอมหาดใหญ่เสื่อมโทรมพื้นที่จังหวัดสงขลาดำเนินการวิจัย -2556 ในแปลงปลูกสัมโอหอมหาดใหญ่ของเกษตรกรตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พื้นที่ 3 ไร ระยะปลูก 7x7 เมตร ต้นพันธุ์สัมโอพันธุ์หอมหาดใหญ่จากกิ่งตอน อายุ 7 ปี จำนวน 90 ตัน มีการโช้ เทคโนโลยีการผสิต โดยปฏิบัติดูแสรักษาตามวิธีเกษตรดีที่เหมาะสมและได้ปรับใช้วิธีการตังกล่าวให้เหมาะสมใน การปฏิบัติของเกษตรกร มีการป้องกันกำจัดโรค แมลงที่เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ตันสัมโอหอมหาดใหญ่โทรม ร่วมกับ การให้ปุย ให้น้ำ เพื่อเพิ่มธาตุอาหารให้พืช แล ละตัตแต่งกิ่ง เพื่อความสมบูรณ์ แข็งแรง การลดการเข้าทำลายของ โรตและแมลง โดยตันสัมโอหอมหาดใหญ่มีความสมบูรณ์ แข็งแรงขึ้น สามารถให้ผลผลิตเพื่อจำหน่ายได้เพิ่มขึ้นในปี 2555 และ 2556 ด้านต้นทุน รายได้ แล ผลตอยแทน ในปี 2554 มีต้นทุนการดำเนินการ แต่ไม่มีรายได้จาก ผลผลิตสัมโอหอมหาดใหญ่ เนื่องจากตังการฟื้นฟู บำรุงเพื่อเพิ่มความสมบูรณ์ให้ตันสัมโอหอมหาดใหญ่ที่ไม่ได้รับ การปฏิบัติดูแลที่เหมาะสม โดยมีผลผลิตที่ใต้เพียงเล็กน้อย ปี 255 5 มีตันทุนการดำเนินการเพิ่มขึ้น และมีรายไตั จากการจำหน่ายผลผลิตสัมโอหอมหาดใหญ่ และปี 2556 ที่มีตันทุนการผลิตมากที่สุด แต่มีรายได้จากการจำหน่าย สัมโอหอมหาดใหญ่เทิ่มขึ้นทั้งต่อพื้นที่และต่อตัน และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นในปีต่อไป ทั้งนี้ในปี 2556 มีตันทุนสูงใน ส่วนของปุยและสารเคมีที่ใช้ในการปฏิบัติดูแลรักษาและการติดตั้งระบ บบน้ำ ซึ่งระบบน้ำดังกล่าวมีระยะเวลาการใช้ งานได้ยาวนาน และเมื่อปฏิบัติตามเทคโนโลยี และมีการจัตการที่เหมาะสม สามารถปรับใช้ปุ๋ยเคมิให้น้อยลง เพื่อลด ตันทุนปุยและสารเตมีลงได้อีกโพระยะยาว ซึ่งผลตอบแทนที่ด้รับก็จะเพิ่มมากขึ้น และเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
บทคัดย่อ (EN): Database Information of Pummelo(Citrus maximaBurm. Merril) cv. Hom Hat Yai Productions in Songkhla Province that study on appropriated environment for good quality of pummelo cv. Hom Hat Yai and study on relationship of some soil properties on yield and quality of pummelo cv. Hom Hat Yai in Songkhla province.The study was carried out by collecting the data of growth, environment, soil properties, yield component and yield quality in five districts of Songkhla province, namely Hat Yai (HY), Rattaphum (RP), Khlong Hoi Khong (KHK), BangKlam (BK1-BK2) and Sadao (SD) districts during 2011-2013. The study on appropriated environment for good quality of pummelo cv. Hom Hat Yai was carried out in 10 private pummelo orchards in Songkhla province. It was found that the vegetative growth and the fruits growth rate were not different. However, KHK site was had the vegetative growth and the fruits growth rate at least. For the fruits quality, it was shown that pummelo fruits from BK1 and BK2 sites had more quality of the other sites. The juice sac was deep red color (R38A) while the other sites red pink color (R38C, R38D). The total soluble solid (TSS) was 12.11 and 11.60 ๐Brix and the ratio of titratable acidity and total soluble solid was 24.88 and 22.75,respectively. There were the best taste and aroma. For the genetic variation of pummelo cv. Hom Hat Yai by RAPD technique, using 4 primers; OPR-03 OPR-15 OPC-09 and OPB-10, it was indicated that the fruits from every sites were no genetic variation, also the environment and management affected to heterogeneous characteristic fruits. The study on relationship of some soil properties on yield and quality of pummelocv. Hom Hat Yai in Songkhla province.Results indicated that the soil properties (0-15 cm.) which the growing pummel cv. Hom Hat Yai in 20 pummelo orchards located were different.Namely most of the soil pH were strongly acid (pH = 4.5-5.5), most of the organic matter were moderate (OM = 1.5-2.5%) ,but most of theavailable phosphorus and available potassium were low (avail.P = 5-15 mg / kg, avail.K = 50-100 mg/ kg), all exchangeable calcium were low. (Exch.Ca = 50 mg /kg), most of theavailable manganese were high (avail. Mn = 20-50 mg/kg), most of theavailable copper were medium. (avail.Cu = 1-2 mg / kg), but most of theavailable zinc were low (avail.Zn = 1-2 mg / kg). Moreover, the soil physical properties of topsoil in 20 pummelo orchards located were different. Namely, most of thesoil texture were moderately fine-textured, most of thesoil were shallow, allsoil bulk density did not limit the growth of plants.In addition, organic matter was highly significant to yield and was able to predict yield44.25%. Exchangeable magnesium, soil depth (D) and soil bulk density (Db) were significant to yield and were able to predict yield37.63%, 28.47%,and 25.76%,respectively. Exchangeable Magnesium, exchangeable calcium and available potassium in the soil were significant to weight and were able to predict weight 34.90%, 33.94%, and 26.21%, respectively. Besides, soil depth was significant to fruit freshand was able to predict fruit fresh25.01%. Available phosphorus and exchangeable calcium in the soil were significant tobark thickness and were able to co-predicted bark thickness 38.15%.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตส้มโอหอมหาดใหญ่ในภาคใต้ตอนล่าง
กรมวิชาการเกษตร
30 กันยายน 2556
โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตสายพันธุ์เตยหนามและพืชสกุลเตยในภาคใต้ตอนล่าง โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อย โครงการวิจัยและพัฒนาส้มเกลี้ยงจังหวัดลำปาง โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ส้มโอ การศึกษาไวรอยด์ในส้มโอเพื่อการส่งออกส้มโอ การวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาผลผลิตส้มโอพันธุ์ทับทิมสยามให้มีคุณภาพของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกส้มโอในเขตลุ่มน้ำปากพนัง ความต้องการเทคโนโลยีการผลิตส้มโอเพื่อการส่งออกของสมาชิกชมรมผู้พัฒนาคุณภาพส้มโอในจังหวัดนครปฐม โครงการวิจัยและพัฒนาการผลิตพืชที่มีศักยภาพในภาคใต้ตอนล่าง การบริหารจัดการเทคโนโลยีเพื่อผลิตลำไยนอกฤดูในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย ระยะที่ 1 โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพริกชีในภาคใต้ตอนล่าง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก