สืบค้นงานวิจัย
ความชุกชุมและการแพร่กระจายของกั้งตั๊กแตนวัยอ่อน ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
อิสราภรณ์ จิตรหลัง, ไภทูล ผิวขาว, ประพัตร์ แก้วมณี, เกศแก้ว เทศอาเส็น - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ความชุกชุมและการแพร่กระจายของกั้งตั๊กแตนวัยอ่อน ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Abundance and Distribution of Mantis Shrimp Larvae along the Andaman Sea Coast of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาความชุกชุมและการแพร กระจายของกั้งตั๊กแตนวัยอ อนทางฝFGงทะเลอันดามันของ ประเทศไทย ทําการศึกษา 3 พื้นที่ จํานวน 44 สถานี ได แก พื้นที่สํารวจที่ 1 บริเวณปากแม น้ํากระบุรีลงมาทาง ทิศใต ถึงบริเวณเกาะตาวัวดํา จังหวัดระนอง พื้นที่สํารวจที่ 2 บริเวณเกาะหมากลงมาทางทิศใต ถึงเกาะนาคาใหญ จังหวัดภูเก็ต และบริเวณเกาะหมากลงมาทางทิศใต ถึงบริเวณเกาะห อง จังหวัดกระบี่ และพื้นที่สํารวจที่ 3 บริเวณเกาะเขาใหญ ลงมาทางทิศใต ถึงเกาะตะรุเตา และเกาะตํามะลัง จังหวัดสตูล เก็บตัวอย างในเดือนมกราคม ถึงธันวาคม ปI 2555 โดยใช ถุงลากแพลงก#ตอนขนาดช องตา 330 ไมโครเมตร พบกั้งตั๊กแตนวัยอ อนในพื้นที่สํารวจที่ 1 เฉลี่ย 41.13 ตัวต อพื้นที่ 10 ตารางเมตร ชุกชุมในเดือนธันวาคม แพร กระจายหนาแน นบริเวณด านทิศใต ของ เกาะสองเหนือซึ่งอยู บริเวณปากแม น้ํากระบุรี ด านทิศใต ของเกาะรู และด านทิศเหนือของเกาะช าง จังหวัดระนอง พื้นที่สํารวจที่ 2 พบเฉลี่ย 21.29 ตัวต อพื้นที่ 10 ตารางเมตร ชุกชุมในเดือนธันวาคม แพร กระจาย หนาแน น บริเวณเกาะยาวใหญ และเกาะยาวน อย จังหวัดพังงา พื้นที่สํารวจที่ 3 พบเฉลี่ย 288.10 ตัวต อพื้นที่ 10 ตารางเมตร ชุกชุมในเดือนมีนาคม และธันวาคม แพร กระจายหนาแน นบริเวณเกาะแรดใหญ เกาะระยะโตbดใหญ ชายฝFGง ด านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตําบลตันหยงโป บริเวณเกาะโกย ด านทิศตะวันออก เฉียงเหนือและตะวันออกเฉียงใต ของเกาะตะรุเตา จังหวัดสตูล และเมื่อเปรียบเทียบความชุกชุมของกั้งตั๊กแตนวัยอ อนในพื้นที่สํารวจที่ 1-3 พบว าพื้นที่สํารวจที่ 3 มีความชุกชุมหนาแน นมากกว าพื้นที่สํารวจที่ 1 และ 2 อย างมีนัยสําคัญ (P<0.05) กั้งตั๊กแตนมีฤดูวางไข ในเดือนในเดือนกุมภาพันธ#ถึงมีนาคม และพฤศจิกายนถึงธันวาคม มีแหล งเลี้ยงตัววัยอ อน บริเวณด านทิศใต ของเกาะสองเหนือซึ่งอยู บริเวณปากแม น้ํากระบุรี บริเวณเกาะรู เกาะช าง เกาะยาวใหญ เกาะยาวน อย เกาะแรดใหญ เกาะระยะโตbดใหญ เกาะโกยใหญ ชายฝFGงด านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตําบลตันหยงโป และด านทิศตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันออกเฉียงใต ของเกาะตะรุเตา คุณภาพน้ําทางฝFGงทะเลอันดามัน ที่ระดับความลึก 1 เมตรจากผิวน้ํา ได แก อุณหภูมิ ความเค็ม และความเป^นกรด-ด าง มีค าอยู ในเกณฑ#ปกติ (28.84-30.11 26.46-31.45 7.51-7.86) เมื่อเปรียบเทียบกับ ค ามาตรฐานคุณภาพน้ําทะเล สําหรับความสัมพันธ#ระหว างปริมาณกั้งตั๊กแตนวัยอ อนกับคุณภาพน้ําทะเล พบว า มีความสัมพันธ#กับอุณหภูมิ และความเค็มน้ําทะเลอย างมีนัยสําคัญ (P<0.05) และเมื่อพิจารณาตามพื้นที่สํารวจ พบว าพื้นที่สํารวจที่ 1 และ 3 ซึ่งมีกั้งตั๊กแตนวัยอ อนชุกชุม มีความสัมพันธ#กับอุณหภูมิ และความเค็มน้ําทะเล อย างมีนัยสําคัญเช นกัน
บทคัดย่อ (EN): Study on abundance and distribution of mantis shrimp larvae along the Andaman Sea Coast of Thailand. The survey area devided into 3 areas with totally 44 stations included area 1: Kraburi estuary, southern part of Ru Island to Ta Wua Dam Island in Ranong Province. Area 2: Mak Island, southern part of Nakaya Island to Nakha Yai Island in Phuket Province and Mak Island, southern part of Khlui Island to Hong Island in Krabi Province. In addition, area 3 Khao Yai Island to Tarutao Island and Tammalang Island in Satun Province. The samples were collected by 330 micrometer plankton net from January to December 2012.The survey area 1 found mantis shrimp larvae with average abundance 41.13 individual per 10 m2 . The highest abundance was found in December 2012 which abundantly distributed in Kraburi estuary, Ru Island and southern part of Chang Island in Ranong Province. Mantis shrimp larvae were found in the survey area 2 with average abundance 21.29 individual per 10 m2 . There were high abundance at Yao Yai Island and Yao Noi Island in Phang-nga Province in December 2012. The survey area 3 found highest average abundance of mantis shrimp larvae with 288.10 individual per 10 m2 . The highest abundance was found at Raet Yai Island, Yaratot Yai Island, Tanyong Po and Tarutao Island in March and December 2012. The comparison of mantis shrimp abundance between 3 survey areas. There is a significant difference between 3 areas (P<0.05) that the abundance of mantis shrimp in the survey area 3 was higher than the survey area 1 and 2. The spawning season was found in February to March and November to December. The nursery grounds were found at southern part of Song Nua Island in Kraburi estuary, Ru Island, Chang Island, Yao Yai Island, Yao Noi Island, Raet Yai Island, Yaratot Yai Island, Koi Yai Island, North western part coast of Tanyong Po, North Eastern part of Tarutao Island and South Eastern part of Tarutao Island. The results showed that the environmental parameters; temperature, salinity and pH (28.84-30.11, 26.46-31.45, 7.51-7.86) at 1 meter depth were regular values compared to the standard seawater quality result. Mantis shrimp larvae showed strong correlation with temperature and salinity (P<0.05). Furthermore, mantis shrimp larvae in the area 1 and 3 showed strong correlation with temperature and salinity aswell.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความชุกชุมและการแพร่กระจายของกั้งตั๊กแตนวัยอ่อน ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
กรมประมง
30 กันยายน 2556
กรมประมง
ความชุกชุมและการแพร่กระจายของกั้งตั๊กแตนจากเรือสำรวจประมงทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ทรัพยากรกั้งตั๊กแตนทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย กั้งตั๊กแตนจากการประมงพื้นบ้านทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การศึกษาการแพร่กระจายของปลิงทะเล พื้นที่ชายฝั่งจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ความชุกชุมและการแพร่กระจายของสัตว์น้ำเศรษฐกิจวัยอ่อนในเขตมาตรการห้ามอวนลาก อวนรุน และพื้นที่ใกล้เคียงทางฝั่งทะเลอันดามัน สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรกั้งกระดาน (Thenus unimaculatus Burton and Davie, 2007) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประมงกั้งกระดาน (Thenus unimaculatus Burton and Davie, 2007) ทางฝั่งทะเลอันดามันตอนบนของประเทศไทย ความหลากหลาย ความชุกชุม และการแพร่กระจายของลูกปลาวัยอ่อนในเขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ การประเมินสภาวะทรัพยากรกุ้งโอคักทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก