สืบค้นงานวิจัย
ประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมแมลงหวี่ขาวโรงเรือน
สิริญา คัมภิโร - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: ประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมแมลงหวี่ขาวโรงเรือน
ชื่อเรื่อง (EN): Efficacy of Entomopathogenic Fungi in Controlling Greenhouse Whitefly,Trialeurodes vaporariorum Westwood
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สิริญา คัมภิโร
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Siriya Kumpiro
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือ ศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมแมลงหวี่ขาวโรงเรือน Trialeurodes vaporariorum Westwood ในห้องปฏิบัติการ โดยทดสอบการเข้าก่อโรคของเชื้อราสาเหตุโรคแมลง จำนวน 29 ไอโซเลท จากเชื้อ 17 ชนิด ใน 5  สกุล  ด้วยการพ่นสารแขวนลอยสปอร์ของเชื้อรา ที่ระดับความเข้มข้น 1x 108 สปอร์/มิลลิลิตร ลงบนตัวอ่อนแมลงหวี่ขาวโรงเรือนวัยที่ 2 พบว่า มีเชื้อราเพียง 6 ไอโซเลท จากเชื้อ 6 ชนิด ใน 3 สกุล ที่สามารถทำให้แมลงหวี่ขาวโรงเรือนเกิดโรคตายได้ โดยมีอัตราการตายระหว่างร้อยละ 3.85 - 92.44 เชื้อรา Paecilomyces tenuipes ไอโซเลท Pt 6073 ก่อโรคกับแมลงหวี่ขาวโรงเรือนสูงสุดร้อยละ 92.44 รองลงมาคือเชื้อรา Metarhizium anisopliae ไอโซเลท BCC 4849 มีค่าร้อยละ 72.67  โดยมีค่า LC50  2.219 x 106 และ 1.005 x 107 สปอร์/มิลลิลิตร ตามลำดับ ที่เวลา 7 วัน หลังจากได้รับเชื้อ
บทคัดย่อ (EN): The objective of this research is to study on the efficacy of entomopathogenic fungi in controlling Greenhouse Whitefly, Trialeurodes vaporariorum Westwood in the Laboratory condition. Entomopatogenic fungi at concentration of 1x108 spores/ml from 29 isolates of 17 species in 5 genera were applied on the second instar nymphs of greenhouse whitefly, T. vaporariorum Westwood. The result revealed that only 6 isolates of 6 species in 3 genera had ability to kill the greenhouse whitefly with mortality rate between 3.85-92.44 %. Paecilomyces tenuipes isolate Pt 6073 was the most effective to control the second instar nymphs of greenhouse whitefly with the mortality of 92.44% follow by those of Metarhizium anisopliae isolate BCC 4849 was 72.67%.  with at  2.219 x 106 and 1.005 x 107 spores/ml respectively at 7 days after application.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246076/168221
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมแมลงหวี่ขาวโรงเรือน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2554
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ราที่มีศักยภาพในอุตสาหกรรมการย่อยสลายแป้งและวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจากระบบนิเวศวิทยาป่าอุทยานสัตว์ป่าอุบลราชธานี ประสิทธิภาพของสารกำจัดเชื้อราประเภทดูดซึมบางชนิดต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytophthora parasitica KK8 ซึ่งเป็นสาเหตุโรคโคนเน่าของพลู ประสิทธิภาพของการป้องกันกำจัดโรคพืชประเภทดูดซึมบางชนิดต่อเชื้อรา Phytophthora parasitica NK1 สาเหตุโรคโคนเน่าของพลู การควบคุมแมลงศัตรูไม้ผลโดยวิธีชีวภาพ การรวบรวมข้อมูลโรคพืชและเชื้อราสาเหตุชนิดต่างๆด้วยระบบดิจิตอล การสำรวจ รวบรวมและประเมินประสิทธิภาพเชื้อราในดินในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างต่อการควบคุม การพัฒนาแนวทางในการควบคุมโรคลำต้นเน่าของปาล์มน้ำมันที่เกิดจากเชื้อสาเหตุ Ganoderma spp. Physiologic Races ของเชื้อรา Hemileia uastatrix B. & Br Corynespora cassiicol เชื้อราสาเหตุโรค target spot ของมะละกอ โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรคใบขาวของอ้อย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก