สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาผลของปุ๋ยเคมีสูตรต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตของแหนแดง
พวงผกา แก้วกรม, สุพจน์ เกิดมี, แสงจันทร์ สอนสว่าง, ปอแก้ว พรมเพชร - มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ชื่อเรื่อง: การศึกษาผลของปุ๋ยเคมีสูตรต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตของแหนแดง
ชื่อเรื่อง (EN): The effect of varied chemical fertilizer ratio on the growth of Azolla sp.
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: แหนแดงเป็ นพืชที่จัดได้ว่าเป็นแหล่งสร้างอาหารหลักโดยเฉพาะไนโตรเจนให้แก่พืช ดังน้ัน งานวจิยัน้ีทา การการศึกษาผลของปุ๋ยเคมีสูตรต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตของแหนแดงในสภาพ หอ้งปฏิบตัิการและสภาพไร่นา เนื่องจากการศึกษาในคร้ังน้ีได้ท าการทดสอบผลกระทบของการใชปุ้๋ยเคมีสูตรต่างๆ ที่มีต่ออตรา ั การเติบโตของแหนแดงดงัน้ันจึงได้ท าการเลือกใช้ปุ๋ ยเคมีที่ประชาชนในจังหวัดเพชรบูรณ์นิยมใช้ใน การปลูกข้าวการศึกษาในระดบั ห้องปฏิบตัิการมีชุดทดลองท้งัหมดจา นวน 3 ชุดคือไม่มีการใส่ปุ๋ยเคมี (T1, ชุดควบคุม) ปุ๋ ยสูตร 46-0-0 (T2)และปุ๋ ยสูตร16-20-0 (T3) หลังจากน้ันปุ๋ยสูตรที่ทา ให้อตัราการ เจริญเติบโตของแหนแดงดีที่สุดจะถูกเลือกน ามาใช้ทดสอบต่อในสภาพไร่นา ซึ่ งประกอบด้วยชุด ทดลองที่ใชปุ้๋ยเคมีเพียงอยา่ งเดียว(T1, ชุดควบคุม) และชุดทดลองที่เลือกใช้ปุ๋ ยสูตร 16-20-0และแหน แดง (T2) จากผลการศึกษาในระดับห้องปฏิบัติการพบว่าแหนแดงสามารถเจริญเติบโตได้ดีที่สุดใน ชุดทดลองที่ไม่มีการใส่ปุ๋ยเคมี(T1) รองลงมาคือชุดทดลอง T3และ T2 ตามล าดับ เมื่อน าไปทดลอง ปลูกในสภาพไร่นาผลการทดลองพบว่าชุดทดลอง T2 สามารถส่งเสริมให้ขา้วมีผลผลิตในระดับที่ ไม่แตกต่างจากชุดทดลอง T1 เมื่อท าการวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติ ดงัน้ันจากผลการศึกษาท้งัหมด สรุปไดว้า่ การใช้ปุ๋ ยเคมีสูตร 16-20-0 สามารถท าให้แหนแดงเจริญเติบโตได้ดีและเมื่อน าไปทดลองปลูก ร่วมกบัแหนแดงในสภาพไร่นาจะทา ใหได้ผลผลิตข้าวสูง ้ ใกลเ้คียงกบัการใชปุ้๋ยเคมีเพยีงอยา่ งเดียว ค าส าคัญ:ปุ๋ ยเคมี, การเจริญเติบโตของแหนแดง, ระดับห้องปฏิบัติการ, ระดับสภาพไร่นา
บทคัดย่อ (EN): Azolla has been identified as a main source of essential plant nutrient especially nitrogen. This study explored the diverse of chemical fertilizers on azolla growth in laboratory and field trials. The effect on varies chemical fertilizer ratios on azolla growth were investigated. We used the popular fertilizer formula in Phetchabun Province. In laboratory, three different treatments included with no fertilizer (T1, control), fertilizer in ratio 46-0-0 (T2) and fertilizer in ratio 16-20-0 (T3) were tested and compared. After that the best formula which enhanced the growth of azolla was used in the field, there including with two treatments i.e. only chemical fertilizer (T1, control) and fertilizer in ratio 16-20-0 and azolla (T2). In laboratory study found that T1 had the highest growth rate of azolla followed by T3 and T2, respectively. The results on rice production in the field level found that T2 had a lower yields than T1. But the statically analysis indicated that there were no significant different on rice yields. Therefore, we concluded that the chemical fertilizer in 16-20-0 ratio enhanced the growth of azolla in laboratory. When using this fertilizer ratio and azolla in the field level we found that the rice yields in this plot was equally to the plot which was using only chemical fertilizer. Keywords: Chemical fertilizer, growth of Azollasp., laboratory level, field trial level
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาผลของปุ๋ยเคมีสูตรต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตของแหนแดง
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
30 กันยายน 2558
การศึกษาปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของไผ่เลี้ยง อิทธิพลของปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของแก่นตะวัน ประสิทธิภาพปุ๋ยเคมีต่ออัตราการเจริญเติบโตและผลผลิตคะน้า การศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตของยางพารา (ช่วงอายุก่อนเปิดกรีด) ศึกษาการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมปุ๋ยอินทรีย์ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นยางอ่อน การใช้เทคโนโลยีชีวภาพร่วมกับปุ๋ยเคมีและหญ้าแฝกเพื่อเพิ่มศักยภาพของดินต่อการเจริญเติบโตของยางพาราในจังหวัดชลบุรี ผลของการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการปลดปล่อยไนโตรเจน การเจริญเติบโตและผลผลิตของยางพารา จ.สุราษฎร์ธานี ผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตยางพาราในกลุ่มชุดดินที่ 31 ผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตยางพารา ผลของการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการปลดปล่อยธาตุอาหารไนโตรเจน และการเจริญเติบโต และผลผลิตของยางพารา จ.สุราษฎร์ธานี

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก