สืบค้นงานวิจัย
ผลไม้ไร้เมล็ด เปี่ยมด้วยคุณค่า
เกรียงศักดิ์ ไทยพงษ์ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลไม้ไร้เมล็ด เปี่ยมด้วยคุณค่า
ชื่อเรื่อง (EN): Seedless Fruit Valued Fruit
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เกรียงศักดิ์ ไทยพงษ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Kriengsak Thaipong
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ลักษณะไม่มีเมล็ด (seedlessness) ในผลไม้นั้น เป็นลักษณะที่ผู้บริโภคมีความต้องการเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีความสะดวกในการบริโภคและมีสวนเนื้อ ผลที่สามารถบริโภคได้มากกว่าพันธุ์มีเมล็ด รวมทั้ง เป็นที่ต้องการของผู้ขายหรือพ่อค้าแม่ค้า เนื่องจาก มีราคาสูงกว่าพันธุ์มีเมล็ด เช่น ฝรั่งมีเมล็ดราคา กิโลกรัมละ 14-15 บาท ในขณะที่ฝรั่งไร้เมล็ดราคา กิโลกรัมละ 17-18 บาท (นิรนาม, 2551) นอกจากนี้ ยังเป็นที่ต้องการของผู้ผลิตหรือเกษตรกร เนื่องจาก จะสามารถขายผลผลิตได้ในราคาที่สูงกว่าพันธุ์มีเมล็ด โดยบทความนี้จะกล่าวถึงสาเหตุการเกิดลักษณะไม่มี เมล็ดของผลไม้ ข้อดีและข้อเสียของผลไม้ไร้เมล็ด ตัวอย่างชนิดและพันธุ์ไม้ผลไร้เมล็ดที่สำคัญและเป็น ที่รู้จักในประเทศไทย การขยายพันธุ์และการพัฒนา พันธุ์ไม้ผลไร้เมล็ด
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=10-Kriengsak1.pdf&id=330&keeptrack=162
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลไม้ไร้เมล็ด เปี่ยมด้วยคุณค่า
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2553
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ศึกษาการใช้กระป๋องพลาสติกบรรจุผลไม้ ศักยภาพของกากผักและผลไม้เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ศึกษาระบบการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในร่องสวนผลไม้ จ.เชียงใหม่ การวิจัยและพัฒนาพลาสติกยืดอายุผักและผลไม้เชิงพาณิชย์ ลักษณะทางกายภาพปริมาณน้ำตาลและกรดอินทรีย์ของผลไม้ตระกูลส้ม การศึกษาระบการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในร่องสวนผลไม้ จังหวัดเชียงใหม่ ผลกระทบของข้อตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนปี 2558 ต่อผลไม้ กรณีศึกษาประเทศไทยและสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ระบบการกระจายสินค้าเชิงซ้อนของเกษตรกรผักและผลไม้อินทรีย์ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยและพัฒนาการแปรรูปผลไม้ในเขตภาคเหนือเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาเทคนิคการประเมินคุณภาพของผลไม้ไทยโดยเทคโนโลยีแบบไม่ทำลายตัวอย่างด้วยเครื่องเนียร์อินฟราเรดแบบพกพา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก