สืบค้นงานวิจัย
เปรียบเทียบการใช้ชนิดและปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกอ้อยเพื่อเกษตรกรรายย่อยใน อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
การันต์ ผึ่งบรรหาร, ชนิรัตน์ ผึ่งบรรหาร - มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ชื่อเรื่อง: เปรียบเทียบการใช้ชนิดและปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกอ้อยเพื่อเกษตรกรรายย่อยใน อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
ชื่อเรื่อง (EN): Compare the Type and Amount of Organic Fertilizer for Sugarcane Farmers in Srithep Distric Phetchabun Province
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ: อ้อย
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบการใช้ชนิดและปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูก อ้อย ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ทาการทดลองโดยวางแผนการทดลองแบบ Factorial in RBD โดยมี 2 ปัจจัย ปัจจัยที่ 1 ชนิดของปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ มูลไก่ มูลสุกร กากตะกอนอ้อย และมูลวัว ปัจจัยที่ 2 ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ที่ใส่ อัตรา 500 1,000 1,500 และ 2,000 กิโลกรัมต่อไร่ นา อ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 มาปลูกลงในแปลงแบบแถวเดี่ยว ระยะระหว่างแถว 1.5 เมตร ยาวแถวละ 16 เมตร ให้น้าโดย ปล่อยไหลตามร่องครั้งแรก หลังปลูก 10 วัน ปล่อยในสภาพแปลงปลูก และใส่ปุ๋ย แต่ละสิ่งทดลอง ปล่อยให้เจริญเติบโตในสภาพแปลง และทา การเก็บข้อมูล เมื่ออ้อยอายุ 10 เดือน ทา การบันทึกผล และนาข้อมูลมาวิเคราะห์ค่าความแปรปรวน (analysis of variance : ANOVA) และเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยโดยใช้ Least significant difference test (LSD) พบว่า ชนิดและปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ในการ ปลูกอ้อย ต่อองค์ประกอบผลผลิตบางส่วนของอ้อยปลูก พบว่า ชนิดปุ๋ยอินทรีย์ที่แตกต่างกันส่งผล ต่อความสูงของลา ต้นอ้อย จา นวนปล้องต่อลา และน้า หนักต่อไร่ ซึ่งน้า หนักต่อไร่มูลสุกรให้ค่าเฉลี่ย สูงสุดแต่ไม่แตกต่างกับกากตะกอนอ้อยและมูลวัว สาหรับปริมาณการใส่ พบว่า อัตราการใส่ 500, 1,000 และ1,500 ให้ค่าเฉลี่ยที่สูงกว่าอัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทางด้านความสูงของลาต้นอ้อย จา นวนปล้องต่อลา น้า หนักต่อไร่ ในขณะที่ชนิดปุ๋ยอินทรีย์และปริมาณที่ใส่ไม่ส่งผลต่อค่าเฉลี่ย ความหวาน (บริกซ์เปอร์เซ็นต์) ดังนั้น การเลือกชนิดปุ๋ยอินทรีย์ควรเลือกชนิดที่ราคาถูกและมีมาก ในท้องถิ่น ขณะที่ปริมาณการใส่แนะนาให้ใส่ในอัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นปริมาณการใส่ใน อัตราน้อยที่สุดแต่ให้ค่าเฉลี่ยน้า หนักต่อไร่สูงสุด ซึ่งเป็นที่ต้องการของเกษตรกร
บทคัดย่อ (EN): This research aims to compare the use and type of organic fertilizer used in sugarcane cultivation. In phetchabun. Experimental design of Factorial in RBD. There are 2 factors. One type of organic fertilizer is chicken manure, pig manure, filter cake and cow manure. Factor 2: Organic fertilizer input at 500 1,000 1,500 and 2,000 kg / rai. Khon Kaen 3 sugarcane planted into a single row. The distance between the rows of 1.5 m, 16 m each, shall be provided by the first discharge after 10 days of planting. Allow to grow in condition of conversion. And storage When the sugarcane age 10 months. Make a record Data were analyzed for variance (ANOVA) and Least significant difference test (LSD). Some yield components of sugarcane planting. It was found that the type and amount of organic fertilizer in sugar cane. On some yield components of sugar cane, it was found that the different organic fertilizers affected the height of sugar cane. Number of segments per trunk and weight per rai. The weight per rai of pig manure gave the highest average but no difference in cane sludge and cow manure. For inputs, it was found that input rates of 500, 1,000 and 1,500 gave an average of 2,000 kg / rai. The height of the sugarcane trunk. Number of joint Weight per rai. While the organic fertilizers and the input did not affect the average sweetness (Brix Percentage) So choose the type of organic fertilizer should choose the cheap and very local species. While the recommended input is 500 kg per rai. It was the lowest input but the highest weight per rai. Which is needed by farmers.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558-11-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
เปรียบเทียบการใช้ชนิดและปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกอ้อยเพื่อเกษตรกรรายย่อยใน อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
30 กันยายน 2559
ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีรองพื้นในการปลูกอ้อยในจังหวัดราชบุรี การใช้เทคโนโลยีการผลิตอ้อยของเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยส่งโรงงานในจังหวัดเลย การใช้เทคโนโลยีการปลูกอ้อยของเกษตรกรตำบลโคกสูง อำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น การเปรียบเทียบพันธุ์อ้อยที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี : อ้อยปลูก ความคิดเห็นของเกษตรกรในการใช้เทคโนโลยีการปลูกอ้อยในเขตพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี การใช้เทคโนโลยีการปลูกอ้อยโรงงานของเกษตรกรตำบลดินดำ อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น สภาพการปลูกอ้อย และการใช้ท่อนพันธุ์อ้อยปลอดโรค-แมลง ของเกษตรกร อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลิตภาพในการผลิตอ้อยของเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในจังหวัดเพชรบูรณ์ การใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูอ้อย ของเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยส่งโรงงานในจังหวัดอุดรธานี ศึกษาสภาพการปลูกอ้อยและการใช้ท่อนพันธุ์อ้อยปลอดโรค-แมลงของเกษตรกร ในเขตอำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก