สืบค้นงานวิจัย
การปนเปื้อนโลหะหนักในสิ่งแวดล้อมทางทะเลจังหวัดระยอง
ฉลวย มุสิกะ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: การปนเปื้อนโลหะหนักในสิ่งแวดล้อมทางทะเลจังหวัดระยอง
ชื่อเรื่อง (EN): Heavy metals contamination in the marine environment of Rayong Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ฉลวย มุสิกะ
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Chaluay Musika
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบปริมาณการสะสมโลหะหนัก (Cd, Hg, Fe, Ni และ Zn) ในฟองน้ำทะเล น้ำทะเล และดินตะกอน ในจังหวัดระยอง โดยเก็บตัวอย่างบริเวณเกาะสะเก็ด (2 สถานี) และเกาะมัน (3 สถานี) รวม 6 ครั้ง ระหว่างปี พ.ศ. 2557-2558 การวิเคราะห์ โลหะหนัก ใช้เทคนิค atomic absorption spectrophotometry ผลการศึกษา แสดงให้เห็นว่าระดับความเข้มข้นของโลหะหนักทั้ง 5 ชนิด ในน้ำทะเลและดินตะกอนอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพน้ำทะเล และมาตรฐานดินตะกอนทะเลและชายฝั่งของประเทศไทย (ไม่มีค่ามาตรฐานสำหรับฟองน้ำทะเล) ความเข้มข้นโลหะหนักในฟองน้ำทะเลสูงกว่าดินตะกอน และน้ำทะเล ตามลำดับ ยกเว้น Fe ในดินตะกอนสูงกว่าฟองน้ำทะเล และน้ำทะเล ตามลำดับ การปนเปื้อนโลหะหนักในฟองน้ำทะเลมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.01) ขึ้นอยู่กับชนิดฟองน้ำทะเล
บทคัดย่อ (EN): This study aimed to investigate the accumulation of heavy metals (Cd, Hg, Fe, Ni and Zn) in marine sponges, sediments and seawater in Rayong province. The samples were collected six times during of 2014 to 2015 from Ko Saket (2 stations) and Ko Mun (3 stations). Heavy metals in all samples were analyzed by atomic absorption spectrophotometry technique. The results showed that Pb and Cu concentrations in sediments and seawater were still compiled with the standards of sediment and coastal water qualities of Thailand (no standard for marine sponges). Heavy metals were accumulated in the marine sponges higher than an accumulation in the sediments and seawater, except that Fe was accumulated in the sediments higher than marine sponges and seawater respectively. Contamination of heavy metals in marine sponges was significantly different depending on sponge species (p < 0.01).
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=P96%20Fis24.pdf&id=3139&keeptrack=1
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การปนเปื้อนโลหะหนักในสิ่งแวดล้อมทางทะเลจังหวัดระยอง
ฉลวย มุสิกะ
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2561
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การศึกษาการปนเปื้อนของโลหะหนักในแปลงข้าวอินทรีย์ การสะสมตะกั่วและทองแดงในฟองน้ำทะเล ดินตะกอน และน้ำทะเล บริเวณจังหวัดระยอง เทคโนโลยีการบำบัดดินปนเปื้อนโลหะหนักด้วยวัสดุฟอสเฟต การเฝ้าระวังการปนเปื้อนจุลินทรีย์และโลหะหนักในอาหารปรุงสำเร็จเพื่อจำหน่ายในเขตจังหวัดนครราชสีมา การคัดแยกและลักษณะสมบัติของแบคทีเรียย่อยสลายปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนที่ทนโลหะหนักจากฟองน้ำทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก และการพัฒนาแบคทีเรียพร้อมใช้สำหรับบำบัดสิ่งแวดล้อม การปนเปื้อนโลหะหนักบางชนิดในดินตะกอนและหอยแครงบริเวณปากแม่น้ำอ่าวไทยตอนใน การติดตามการสะสมของโลหะหนักในฟองน้ำทะเล บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย การปนเปื้อนแบคทีเรีย โลหะหนัก และ คุณภาพน้ำบริเวณแหล่งเลี้ยงหอยนางรม(Saccostrea coccullata Born, 1778 )จังหวัดจันทบุรี การปนเปื้อนของปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนรวมในน้ำทะเลตะกอนดิน และสัตว์ทะเลบริเวณอ่าวไทยตอนบนกับมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง การสะสมโลหะหนักในเห็ดฟางจากวัสดุเพาะที่แตกต่างกัน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก