สืบค้นงานวิจัย
การใช้สารสกัดจากผลกล้วยน้ำว้าสุกควบคุมเชื้อที่ทำให้เกิดโรคท้องร่วงในสุกรเล็ก
ณวรรณพร จิรารัตน์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ชื่อเรื่อง: การใช้สารสกัดจากผลกล้วยน้ำว้าสุกควบคุมเชื้อที่ทำให้เกิดโรคท้องร่วงในสุกรเล็ก
ชื่อเรื่อง (EN): Using of crude extract from Musa sapientum L. control diarrhea in starter- growing pig.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ณวรรณพร จิรารัตน์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ศึกษาการใช้สารสกัดจากผลกล้วยน้ำว้าสุกควบคุมเชื่อที่ทำให้เกิดโรคท้องร่วงในสุกรเล็ก โดยนำสารสกัดแทนนินจากผลกล้วยน้ำว้าสุกมาหาค่าการสร้างโซนยับยั้งของเชื้อ E. col ที่ก่อให้ เกิดโรคจากมูลสุกรและไช้ E. coi (ATCC 25922) ที่ระดับ 0. 0.25, 0.50, 0.75 และ 1 เปอร์เซ็นด์ พบว่า ขนาดของโซนยับยั้งเชื้อ E. co ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) แต่มีแนวโน้มว่า การใช้สารสกัดแทนนินจากผลกล้วยน้ำว้าสุกที่ระดับ I เปอร์เซ็นด์ มีการสร้างโซนยับยั้งเชื้อ E col ได้กว้างที่สุด คือเฉลี่ย 1.16 เซนติมตร จากนั้นนำผลที่ได้มาศึกษาในสุกรทคลองโดยวางแผนการ ทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ ใช้สุกรหย่านมพสผู้และเพศเมียอย่างละ 4 ตัว เลี้ยงด้วยอาหาร ทดลลง 5 สูตร คือ สูตรที่ 1 อาหารสุกรหย่านมที่ไม่ใช้สารสกัดแทนนิน (กลุ่มคาบคุม) สูตรที่ 2 อาหารสุกรหย่านมที่ใช้สารสกัดแทนนิน 0.25 เปดร์เซ็นต์ สูตรที่ 3 อาหารสุกรหย่านมที่ใช้สารสกัด แทนนิน 0.5 เปอร์เซ็นต์ สูตรที่ 4 อาหารสุกรหย่านมที่ใช้สารสกัดแทนนิน 0.75 เปอร์เซ็นด์ และ สูตรที่ 5 อาหารสุกรหย่านมที่ใช้สารสกัดแทนนิน I เปอร์เซ็นด์ ผลการทคลองพบว่าสมรรถภาพ การผลิด เช่นน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญเดิบโต ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเปลี่ยน อาหาร และดันทุนคำอาหารต่อน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น 1 กิโลกรัม ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P:0.05) โดยมีแนวโน้มว่าการใช้สารสกัดแทนนินที่ระดับ I เปอร์เซ็นต์ ให้ผลของสมรรถภาพการ ผลิตดีที่สุด และมีดันทุนค่าอาหารต่อน้ำหนักตัวที่พิ่มขึ้น / กิโลกรัม ต่ำที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่า ลักษณะมูลของสุกรโดยการให้คะแนน จำนวนจุสินทรีย์กลุ่ม E. coli จำนวนจุลินทรีย์กลุ่ม Pathogenic และจำนวนจุลินทรีย์รวมในมูล ไม่มีความแลกล่างกันทางสถิติ (P-0.05) แต่แนวโน้ม ว่าการใช้สารสกัดแทนนินจากกล้วยน้ำว้าที่ระดับความเข้มขัน 1 เปอร์เซ็นต์ ให้ผลดีที่สุด
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้สารสกัดจากผลกล้วยน้ำว้าสุกควบคุมเชื้อที่ทำให้เกิดโรคท้องร่วงในสุกรเล็ก
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
30 กันยายน 2551
การชักนำให้เกิดแคลลัสในกล้วย โครงการนำร่องการจัดทำระบบคอมพาร์ทเมนต์สุกร เพื่อรับรองสถานภาพปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยและโรคอหิวาต์สุกรเพื่อการส่งออก การศึกษาลักษณะทางกายภาพ การเจริญเติบโต ผลผลิตและคุณภาพของกล้วยน้ำว้า การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี การประเมินพันธุ์และพัฒนาการขยายพันธุ์กล้วยน้ำว้าเพื่อการค้า การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของกล้วยน้ำว้า ในจังหวัดพิษณุโลก โดยใช้เครื่องหมายชีวโมเลกุล การพัฒนาสารสกัดสมุนไพรที่มีศักยภาพต้านไวรัสและแบคทีเรียก่อโรคในสุกร ระดับโภชนะที่เหมาะสมในอาหารสำหรับสุกร4)สุกรเล็ก(นน.10-20 กก.) ระดับโภชนะที่เหมาะสมในอาหารสำหรับสุกร4)สุกรเล็ก(นน. 50-90กก.)

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก