สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
นุสรา แสงอร่าม - มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
ชื่อเรื่อง (EN): Potential Development of Group Management of Organic Fertilizer Occupation Group Micro Community Enterprise Baan Den Son Don Kaew Sub-District, Mae-Tha District, Lampang Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นุสรา แสงอร่าม
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาประสิทธิภาพการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้ผลิตปุ๋ย อินทรีย์ ตำบลสันคอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ประสิทธิภาพการบริหารจัดการกลุ่มผู้ผลิตปุ้ยอินทริย์ดำบลสันดอนแก้ว และเพื่อหาแนวทางการ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนของกลุ่มผู้ผลิตปุ้ยอินทรีย์ ตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มผู้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์เป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนึ่งที่มีความเข้มแข็งใน ตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง และเป็นกลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนา จากการ วิเคราะห์ประสิทธิภาพในค้านต่าง ๆ ของกลุ่มได้แก่ด้านการผลิต ด้านการบริหารจัดการ และด้าน การตลาด พบว่าจุดเด่นของกลุ่มผู้ผลิตปุ้ยอินทริย์ คือ สมาชิกกลุ่มมีความใฝรู้ในการพัฒนากลุ่ม อย่างในด้านต่ง ๆ อย่างต่อเนื่อง ในส่วนของจุดด้อยของกลุ่มผู้ผลิตปุ๋ยอินทริย์ คือทางกลุ่มยังไม่มี สูตรในการหมักปุ้ยที่ได้มาตรฐาน ดลอดจนยังไม่มีชื่อตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เป็นของตนเอง รวมถึงสถานที่จัดจำหน่ายมีเพียงแหล่งเดียวคือที่โรงหมักปุ้ยของกลุ่ม แนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพวิสาหกิจชุมชนคือการให้ความรู้ในเรื่องการผลิตปุ๋ย อินทริย์ และวิธีการผลิตปุ๋ยอินทริย์คุณภาพสูง ร่วมกันกำหนดโครงสร้างการบริหารงานของกลุ่ม ใหม่ให้มีความชัดเจนเพื่อลคการทำงานที่ซ้ำช้อน รวมถึงการให้สมาชิกกลุ่มมีส่วนร่วมในทุก กระบวนการตั้งแต่การกำหนดชื่อตราสินค้ภายใด้ชื่อ "ปุ้ยเด่นดี" สโลแกนคือปุ๊ยเด่นดี ปุ้ยอินทรีย์ มีคุณภาพ และบรรจุชื่อตราลงในบรรจุภัณฑ์ของกลุ่มเพื่อให้ผลิตภัณฑ์เป็นที่รู้จักและมีความเป็น เอกลักษณ์
บทคัดย่อ (EN): The study of efficiency development for the group participatory management of organic fertilizer micro community enterprise, Son Don Kaew Sub-District, Mea-Tha District, Lampang Province was conducted for two objectives; (1) to study of efficiency of group management; and (2) to investigate guideline of efficiency development for the group participatory management of organic fertilizer micro community enterprise, Son Don Kaew Sub-District, Mea-Tha District,Lampang Province. The results were found that (1) the organic fertilizer micro community enterprise was another strong group. According to efficiency analysis in the field of production, management and marketing, the strong point of the group was the members of the group were eager to seek knowledge to developing their group continuously. However,some weaknesses were found too. They were no standard in organic fertilizer formula, no brand, no formal packaging, and only one channel of distribution. (2) The guidelines of efficiency development for the organic fertilizer micro community enterprise were to give knowledge of organic fertilizer , to teach how to produce high standard organic fertilizer, to design a new distinct organization structure for decreasing duplication and to encourage all members to design their own brand,which later the name they got was Pui Den Dee with a sloganQuality Organic Fertilizer. Then this brand was printed on product package of the organic fertilizer group, so the product now became known and had its own identity. Later, the product was sold to some flower markets which were centre of Lampang agricultural products.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
30 กันยายน 2553
การศึกษาวิธีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากเศษวัสดุอินทรีย์ที่ได้จากการตัดแต่งกิ่งไม้ การบริหารโรงงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์ กรณีศึกษา: โครงการ “หนึ่งอำเภอหนึ่งโรงปุ๋ย” ในจังหวัดอุบลราชธานี การบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรของชุมชนเพื่อสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนให้กับคนในท้องถิ่น รูปแบบการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกยางพารา ตำบลน้ำหมัน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ การศึกษาแนวทางการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ตำบลมะเกลือใหม่ อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์สำหรับชุมชน การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการกลุ่มแบบมีส่วนร่วมของวิสาหกิจชุมชนเพาะและแปรรูปเห็ดบ้านสวนแม่วะ ตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง การพัฒนาแอปพลิเคชันบัญชีบนโทรศัพท์เคลื่อนที่สำหรับวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาระบบบัญชีของวิสาหกิจชุมชนในเขตอำเภอบางเลน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตข้าวนึ่งคุณภาพสูงสำหรับวิสาหกิจชุมชน การประยุกต์ใช้ระบบมาตรฐานความปลอดภัยทางด้านอาหาร ในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน : แกงไตปลาสำเร็จรูป

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก