สืบค้นงานวิจัย
การใช้เทคโนโลยีสะอาดในกระบวนการผลิตน้ำยางข้น
จักรี เลื่อนราม - การยางแห่งประเทศไทย
ชื่อเรื่อง: การใช้เทคโนโลยีสะอาดในกระบวนการผลิตน้ำยางข้น
ชื่อเรื่อง (EN): Clean Technology in Latex Concentrated Product
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: จักรี เลื่อนราม
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: "ผลจากการตรวจปริมาณแอมโมเนียที่ใช้รักษาสภาพน้ำยางสดเมื่อนำส่งโรงงานพบว่า ปริมาณ แอมโมเนียเริ่มเกินจากขีดจำกัดที่ระดับ 0.20-0.40% ต่อน้ำหนักน้ำยาง เมื่อปริมาณน้ำยางสดที่รวบรวม ได้ต่ำกว่า 1,400 กิโลกรัม/ถัง และจะเพิ่มปริมาณความสูญเสียแอมโมเนียมากขึ้นตามปริมาณน้ำยางที่ ลดลง เนื่องจากโรงงานเตรียมแอมโมเนีย 20% น้ำหนัก/น้ำหนัก ให้กับผู้รวบรวมน้ำยางรายละ 30 กิโลกรัมต่อ 1 ถังน้ำยางซึ่งจะเพียงพอกับปริมาณน้ำยางสด 1,500 กิโลกรัมขึ้นไป ผู้รวบรวมน้ำยางจะ ใส่สารรักษาสภาพทั้งหมดทุกวันเพื่อลดความเสี่ยงที่ไม่สามารถกำหนดปริมาณน้ำยางได้ จากจำนวนผู้ ส่งน้ำยางร้อยละ 46.4 เป็นผู้ส่งน้ำยางต่ำกว่าวันละ 1,400 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่าสูญเสียประมาณวันละ 244.20 บาท การลดความเข้มข้นแอมโมเนียเหลือ 16.5% น้ำหนัก/น้ำหนัก ทำให้การสูญเสียลดลง เหลือ 63.60 บาท/วัน ลดมูลค่าความสูญเสียลงได้ปีละ 56,347.20 บาท/โรง ดังนั้นการใช้เทคโนโลยี สะอาดนอกจากช่วยลดภาวะค่าใช้จ่ายผู้ประกอบการลงได้แล้ว ยังเป็นการช่วยลดมลภาวะที่เกิดขึ้นจาก ปริมาณแอมโมเนียส่วนเกินได้อีกปีละ 1,878.24 กิโลกรัม"
บทคัดย่อ (EN): No information found from agency.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: ม.ป.ป.
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: ม.ป.ป.
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: การยางแห่งประเทศไทย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้เทคโนโลยีสะอาดในกระบวนการผลิตน้ำยางข้น
การยางแห่งประเทศไทย
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
ต้นทุนการผลิตน้ำยางข้น การจัดการคุณภาพน้ำยางข้นของโรงงานที่ใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด เทคโนโลยีการผลิตยางผสมจากยางธรรมชาติ การผลิตและการตลาดอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้น้ำยางข้นเป็นวัตถุดิบ การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตน้ำตาลด้วยเทคโนโลยีสะอาด การควบคุมกระบวนการผลิตและคุณภาพน้ำยางข้นในโรงงานต้นแบบที่จังหวัดสงขลา ศึกษาการผลิตหมอนลมยางรองรับคอจากน้ำยางข้น วิเคราะห์สถานการณ์การผลิตและการใช้ยางธรรมชาติ การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร การปรับปรุงกระบวนการผลิตและพัฒนาคุณภาพกระดาษเส้นใยกล้วยไข่

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก