สืบค้นงานวิจัย
การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งของข้าวโพดฝักอ่อนจากโรงงานอุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง
สุภัทรา วิลามาศ, เสน่ห์ บัวสนิท, จันทร์เพ็ญ บุตรใส, ทศพร นามโฮง, สิริวรรณ สุขนิคม, ฌนกร หยกสหชาติ, สุภัทรา วิลามาศ, เสน่ห์ บัวสนิท, จันทร์เพ็ญ บุตรใส, ทศพร นามโฮง, สิริวรรณ สุขนิคม, ฌนกร หยกสหชาติ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
ชื่อเรื่อง: การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งของข้าวโพดฝักอ่อนจากโรงงานอุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง
ชื่อเรื่อง (EN): Utilization of waste from the baby corn in Canned food industry.
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งของข้าวโพดฝักอ่อนจากโรงงานอุตสาหกรรมอาหารกระป๋องโดยการศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของข้าวโพดฝักอ่อน จากการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีและกายภาพ มีความชื้นร้อยละ 87.44 โปรตีน ร้อยละ 2.62 มีปริมาณไขมัน ร้อยละ 0.61 ปริมาณเถ้า ร้อยละ 0.58 คาร์โบไฮเดรต ร้อยละ 8.75 ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำ 12.7 ?Brix ปริมาณแป้ง ร้อยละ0.09 และปริมาณน้ำตาลรีดิวซ์ ร้อยละ 0.79 การศึกษาผลของความร้อนต่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวโพดฝักอ่อนจากการศึกษาผลของความร้อนต่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวโพดฝักอ่อน โดยศึกษาโดยใช้เอนไซม์อะไมเลสในการย่อยสลายข้าวโพดฝักอ่อนเพื่อ โดยโดยกำหนดใช้ 0.1 % v/w กำหนดอุณหภูมิและ คือ 60 ?ซ และเวลาในการบ่ม คือ 60 และ180 และนำมาการระเหยที่อุณหภูมิ 70, 80 และ 90?ซ พบว่า ระยะเวลาในการบ่มน้ำข้าวโพดนานขึ้นและอุณหภูมิสูงขึ้น ทำให้ค่าสีของผลิตภัณฑ์เข้มขึ้น โดยที่อุณหภูมิในการระเหยที่ใช้คือ 90 องศาเซลเซียสผลิตภัณฑ์วัดค่าสีโดยมีค่า L* เท่ากับ 80.1 มีค่า a* เท่ากับ -0.2 และค่า b* เท่ากับ 13.2 ค่าความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 5.21และปริมาณของแข็งที่ละลายได้ 18.37 ?Brix
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งของข้าวโพดฝักอ่อนจากโรงงานอุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
30 กันยายน 2557
ปกป้องสายตาด้วยข้าวโพด การใช้เศษวัสดุเหลือใช้ของข้าวโพดฝักอ่อนและข้าวโพดหวานเป็นอาหารสัตว์ ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดเพื่อเพิ่มคุณภาพโปรตีน การหมักต้นและเศษเหลือของข้าวโพดฝักอ่อนเสริมด้วยใบกระถิน โดยใช้ถุงหมักเพื่อใช้เป็นอาหารโคนม การใช้ exogenous fibrolytic enzyme เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์ได้ ของสิ่งเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมผลิตกรดซิตริกในโคเนื้อคัดทิ้ง การใช้ต้นและเปลือกข้าวโพดฝักอ่อนเป็นอาหารหลักในโคกำลังรีดนม การใช้ต้นและเปลือกข้าวโพดฝักอ่อนเป็นอาหารสำหรับกระต่ายรุ่น : รายงานผลการวิจัย การใช้ Bacillus subtilis เพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดฝักอ่อน การพัฒนาข้าวโพดไร่สีม่วง เพื่อเพิ่มศักยภาพการใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก