สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาโครโมโซมกล้วยพันธุ์พื้นบ้านของภาคเหนือ
นลินี รุ่งเรืองศรี - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การศึกษาโครโมโซมกล้วยพันธุ์พื้นบ้านของภาคเหนือ
ชื่อเรื่อง (EN): Chromosomal Studies of Northern Banana (Musa spp.) Cultivars
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นลินี รุ่งเรืองศรี
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Nalinee Roongruangsree
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: อุทัย รุ่งเรืองศรี
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): U-tai Roongruangsree
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาจำนวนโครโมโซมจากปลายรากของกล้วยที่ปลูกในภาคเหนือโดยวิธีการต่างๆ พบว่าเทคนิคที่เหมาะสมคือการแยกโปรโตพลาสต์แล้วย้อมด้วยสี Giemsa หรือ สีฟลูออเรสเซนส์ DAPI สามารถระบุกล้วยที่มีจำนวนโครโมโซม 22 แท่ง ได้แก่ กล้วยแดง กล้วยตานี กล้วยแวก (กล้วยบัวสีส้ม) และกล้วยไข่ และกล้วยที่มีโครโมโซม 33 แท่ง ได้แก่ กล้วยหม่น กล้วยป้ำ กล้วยส้ม กล้วยหักมุกเขียว กล้วยน้ำว้า กล้วยเทพรส (ปลีหาย) กล้วยทิพรส (โทหล้อง) ส่วนเทคนิคฟอยเก็นสามารถระบุกล้วยสาและกล้วยเชียงรายว่ามีโครโมโซม 22 แท่ง ส่วนกล้วยหอมทอง กล้วยนาก กล้วยงาหมู กล้วยเทพรสมีโครโมโซม 33 แท่ง โดยวิธีย้อมสีรากแล้วกดสไลด์
บทคัดย่อ (EN): Chromosome numbers from growing root tips of musa spp. found in Northern Thailand were suitably shown by protoplast isolation technique and staining in Giemsa and fluorochrome, DAPI. Four cultivars, namely 'kluai Daeng', 'Kluai Tani', 'Kluai Wag', and 'Kluai Khai' had 22 chromosomes while eight local varieties, 'Kluai Mon', 'Kluai Pam', Kluai Som', 'Kluai Hukmuk Khieu', Kluai Namwa', Kluai Tiparot' and 'Kluai Teparod' had 33 chromosomal complement. The Feulgen staining method followed by tissue squashing showed 22 chromosomes from two cultivars, 'Kluai Sa' and 'Kluai Chiang Rai', and 33 chromosomes from 'Kluai Hom Thong', 'Kluai Nak', 'Kluai Nga Moo' and 'Kluai Teparod'.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะวิทยาศาสตร์
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-50-044
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 200,000
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2550
เอกสารแนบ: http://webpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/research/2553/Nalinee_Roongruangsree_2553/fulltext.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2550
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาโครโมโซมกล้วยพันธุ์พื้นบ้านของภาคเหนือ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2550
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การพัฒนาศักยภาพของระบบการผลิตกุ้งก้ามกรามในเขตภาคเหนือ จำนวนโครโมโซมของงาที่ผ่านการฉายรังสีด้วยวิธีการเพิ่มชุดโครโมโซมโดยใช้โคลชิซิน ฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากเปลือกกล้วยเล็บมือนางและกล้วยหินในการต้านการเจริญของเชื้อก่อโรคในอาหาร สัณฐานวิทยาโครโมโซมของข้าวเหนียวดำ สัณฐานวิทยาและจำนวนโครโมโซมลางสาดพื้นเมืองลับแล ลักษณะปากใบของจำนวนชุดโครโมโซมที่แตกต่างกันในกล้วยไม้หวายลูกผสมบางชนิด พันธุ์แอสเตอร์ที่เหมาะสมในการผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์เพื่อการค้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของดีเอนเอจากไมโตคอนเดรียและโครโมโซมวายในประชากรภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย การปรับปรุงพันธุ์ข้าวสาลีในภาคเหนือตอนบน การเพิ่มผลผลิตและการเปลี่ยนแปลงของยีนที่เกี่ยวกับข้องกับสารซาโปนิน ในพรมมิโดยวิธีการเพิ่มจำนวนชุดโครโมโซม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก