สืบค้นงานวิจัย
การผลิตเอทธานอลจากเงาะคุณภาพต่ำเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน (แก๊สโซฮอล์)
ศรีอุบล ทองประดิษฐ์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
ชื่อเรื่อง: การผลิตเอทธานอลจากเงาะคุณภาพต่ำเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน (แก๊สโซฮอล์)
ชื่อเรื่อง (EN): Ethanol Production from Rambutan for Fuel Replacement Energy as Gasohol
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ศรีอุบล ทองประดิษฐ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: สุวิทย์ สุวรรณโณ
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การผลิตเอทธานอลจากเงาะคุณภาพต่ำเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน โดยศึกษาสภาวะที่ เหมาะสมในการหมักเอทธานอลจากเงาะคุณภาพต่ำ ศึกษากระบวนการกลั่นแยกเอทธานอลที่ได้ จากการหมัก แล้วการทำให้เอทธานอลที่กลั่นได้มีความบริสุทธิ์พร้อมที่จะนำไปเป็นส่วนผสมใน น้ำมันแก๊สโซฮอล์ ผลจากการศึกษา พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการหมักเอทธานอลจากเงาะ คุณภาพต่ำ คือ การหมักเตรียมน้ำหมักจากน้ำเงาะคุณภาพต่ำที่ผสมเนื้อเงะลงไป และเดิมได แอมโมเนียมฟอสเฟต 0.96 กรัมต่อลิตรเป็นแหล่งใน โตรเจน แล้วทำให้น้ำเงาะปลอดเชื้อด้วยสาร โพแทสเซียมเมตาไบซัลไฟท์ และหมักด้วยเชื้อยีสต์สายพันธุ์ที่เหมาะสมคือ Saccharomyces cerevisiae TISTR 5339 โดยจะได้ปริมาณเอทธานอลสูงสุดเท่ากับร้อยละ ร.83 ที่ระยะเวลาการ หมัก 8 วัน เมื่อนำเอทธานอลที่หมักได้จากเงาะคุณภาพต่ำมากลั่นในเครื่องกลั่นลำดับส่วนที่ อุณหภูมิ ๑*ซ จะได้เอทธานอลที่มีความเข้มขันร้อยละ รง และทำการกลั่นซ้ำจำนวน 4 รอบจะได้ เอทธานอลที่มีความเข้มข้นร้อยละ 9ร และเมื่อนำเอทธานอลที่กลั่นได้ไปทำให้บริสุทธิ์ด้วยกรรมวิธี ในการแยกน้ำโดยการใช้โมเลกุลาร์ชีฟประเภทชี โอไลต์ที่บรรจุในหอดูดซับปริมาณ 100 กรัม สามารถแยกเอทธานอล ลิตรที่ระชะเวลาในการดูดชับนาน 40 นาที ได้เอทธานอลที่มีความ ข้มขันถึงร้อยละ 99.2 ซึ่งสามารถนำไปผสมกับน้ำมันเบนชินเพื่อทำป็นน้ำมันแก๊สโซฮอล์ได้
บทคัดย่อ (EN): The ethanol production from rambutan for fuel replacement energy as gasohol was studied. There are three objectives were studied such as study of optimal conditions for fermentation of ethanol from low-graded of rambutan, study of ethanol distillation processes and refining of ethanol for fuel replacement energy as gasohol. The results were found that the optimal conditions for fermentation of ethanol from low-grade of rambutan were preparing of fermentation broth and fermentation with Saccharomyces cerevisiae TISTR 5339 have to added rambutan flesh, added 0.9 gL di-ammonium phosphate and used potassium metabisulphite as sterile agent to give a highest ethanol about 5.83% at 8 days of fermentation. Distillation of 50% ethanol from low-graded of rambutan was used temperature at 90C and re-distilled 4 time to give 95% ethanol and give a finally puritied of 99.2% ethanol after pass 95% ethanol 1 L through column with contained molecular sieve 100 g at contact time of 40 min.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-08-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การผลิตเอทธานอลจากเงาะคุณภาพต่ำเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน (แก๊สโซฮอล์)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
31 สิงหาคม 2553
การศึกษาเพื่อผลิตสาหร่ายเป็นพลังงานทดแทน การผลิตเอทธานอลจากวัสดุเหลือทิ้งจากกล้วย ระยะเวลาเก็บเกี่ยวและสารเคลือบผิวที่รับประทานได้ต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของเงาะนอกฤดูกาลพันธุ์โรงเรียนใน จ. นครศรีธรรมราช การผลิตเอทธานอลเชื้อเพลิงจากน้ำทิ้งโรงงานผลิตแป้งขนมจีน การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร การใช้ประโยชน์ข้าวฟ่างหวานเพื่อพลังงานทดแทน การวิจัยและพัฒนาเพิ่มมูลค่าจากเงาะเพื่อเป็นอาหารและเครื่องดื่มสุขภาพ โดยใช้พลังงานต่ำ โครงการศึกษาการผลิตเงาะ ทดสอบและขยายผลเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิตเงาะคุณภาพ โครงการวิจัยพัฒนาพันธุ์และเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเงาะคุณภาพ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก