สืบค้นงานวิจัย
การทำนายส่วนประกอบทางเคมีของหญ้าแพงโกล่า ด้วยเครื่องเนียร์อินฟราเรดสเปกโตรสโกปี
จันทกานต์ อรณนันท์ - กรมปศุสัตว์
ชื่อเรื่อง: การทำนายส่วนประกอบทางเคมีของหญ้าแพงโกล่า ด้วยเครื่องเนียร์อินฟราเรดสเปกโตรสโกปี
ชื่อเรื่อง (EN): Chemical composition prediction of pangola grass by near-Infrared reflectance pectroscopy.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: จันทกานต์ อรณนันท์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN):
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ดำเนินการพัฒนาสมการสำหรับใช้กับเครื่อง NIRS เพื่อใช้ทำนายส่วนประกอบทางเคมีของหญ้าแพงโกล่า ระหว่างเดือน สิงหาคม 2550 - ธันวาคม 2552 โดยใช้ตัวอย่าง 1,718 1,485 614 614 และ 519 ตัวอย่าง สำหรับสร้างสมการทำนายค่าวัตถุแห้ง โปตีน NDF ADF และ ลิกนิน ตามลำดับ และก่อนสร้างสมการ ไม่มีการปรับแต่งสเปกตรัมและมีการปรับสเปกตรัมด้วย SNV-Detrendและวิธีทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ derivative, gap และ smooth 5 รูปแบบ คือ (1) 1, 4, 4 (2) 2, 4, 4(3)2,8,4 (4)1, 5, 5 และ (5)2, 5, 5 จากการศึกษา พบว่า สมการที่มีความแม่นยำในการทำนายสูงสุดและสามารถประยุกต์ใช้ได้กับตัวอย่างหญ้าแพงโกล่าจากงานทุกประเภท คือ สมการทำนายปริมาณโปรตีน ซึ่งสร้างโดยใช้การปรับสเปกตรัมรูปแบบที่ (3) ได้สมการที่มีค่า 1-VR SECV SEP SEP(C) และ R เท่ากับ 0.9846 0.3414 0.385 0.385 และ 0.984 ตามลำดับ สำหรับสมการทำนายค่า ADF ได้จากการสร้างสมการโดยใช้การปรับสเปกตรัมรูปแบบที่ (5) ได้สมการที่มีความแม่นยำในการทำนายสูงและใช้ได้กับตัวอย่างจากงานเกือบทุกประเภทรวมทั้งงานวิจัยและการรับรองคุณภาพ โดยมีค่า 1-VR SECV SEP SEP(C) และ R เท่ากับ 0.9540 0.6364 0.764 0.7660.936 ตามลำดับ ส่วนสมการที่ดีที่สุดที่ใช้ทำนายปริมาณวัตถุแห้งและ NDF ได้จากการสร้งสมการโดยใช้การปรับสเปกตรัมรูปแบบที่ (3) ได้สมการที่มีความแม่นยำสูงใช้ได้กับตัวอย่างจากงานวิจัยและงานเกือบทุกประเภทแต่ต้องมีความระมัดระวังในการใช้ผลวิเคราะห์ ขณะที่การทำนายปริมาณลิกนิน สมการที่ดีที่สุดได้จากการปรับสเปกตรัมรูปแบบที่ (5) โดยสมการที่ได้มีความแม่นยำพอใช้และใช้ได้สำหรับงานคัดกรองและการประเมินคุณภาพแบบหยาบเท่านั้น
บทคัดย่อ (EN): Establishment of equation for determining dry matter (DM), crude protein (CP), neutral detergent fiber (NDF), acid detergent fiber (ADF) and acid detergent lignin (ADL) in pangola grass (Digitaria eriantha) was conducted during August 2007-December 2009. 1718 1485 614 614 and 519 samples of pangola grass were use to set up the prediction equation for DM, CP, NDF, ADF and ADL, respectively. Non-adjust spectrum and 5 adjusting spectrum by SNV-Detrend with difference mathematic treatments (derivative, gap and smooth) (1)1,4,4(2)2,4,4(3)2, 8,4 (4) 1, 5, 5 and (5) 2, 5, 5 were used for calibration equation. The results obtained show that prediction equations which the highest precisions and usable for any application was for CP. The statistic's equations such as 1-VR SECV SEP SEP (C) and R were 0.9846 0.3414 0.385 0.385 and 0.984 respectively. The best prediction equation for ADF had 0.9540 .6364 0.764 0.766 and 0.936 of 1-VR SECV SEP SEP(C) and R? respectively and usable in most application including research and quality assurance. NIRS equation for DM and NDF were successful and caution useful for most application including research but moderately successful for ADL which capable for screening and approximate calibration.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกรม: สำนักพัฒนาอาหารสัตว์
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองอาหารสัตว์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การทำนายส่วนประกอบทางเคมีของหญ้าแพงโกล่า ด้วยเครื่องเนียร์อินฟราเรดสเปกโตรสโกปี
กองอาหารสัตว์
2553
เอกสารแนบ 1
กรมปศุสัตว์
การพัฒนาวิธีการตรวจวิเคราะห์การปลอมปนในข้าวหอมมะลิเปลือกและข้าวหอมมะลิขาวอย่างรวดเร็วด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรด ผลผลิตและส่วนประกอบทางเคมีของหญ้าแพงโกล่าที่ปลูกด้วยอัตราท่อนพันธุ์ที่แตกต่างกันในพื้นที่ลุ่มจังหวัดสุโขทัย การปรับปรุงพันธุ์หญ้าแพงโกล่าโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การทำหญ้าแพงโกล่าแห้ง ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตหญ้าแพงโกล่าจำหน่ายในปี 2547 คุณค่าทางโภชนะของหญ้าแพงโกล่าแห้งที่การเจริญเติบโตต่างกัน ผลของอัตราการใส่ปุ๋ยคอกและปุ๋ยไนโตรเจนที่มีต่อผลผลิตและส่วนประกอบทางเคมีของหญ้าแพงโกล่าในชุดดินหุบกระพง การใช้หญ้าแพงโกล่าหมักเลี้ยงโคเนื้อ การใช้หญ้าแพงโกล่าเป็นแหล่งอาหารหยาบในการเลี้ยงโคขุนระยะสุดท้าย คุณภาพของหญ้าแพงโกล่าผสมถั่วท่าพระสไตโลหมักในสัดส่วนต่าง ๆ

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก