สืบค้นงานวิจัย
ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการเลี้ยงไก่พื้นเมืองไทยประดู่หางดำ เชียงใหม่พันธุ์แท้และลูกผสม
อำนวย เลี้ยวธารากุล - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการเลี้ยงไก่พื้นเมืองไทยประดู่หางดำ เชียงใหม่พันธุ์แท้และลูกผสม
ชื่อเรื่อง (EN): Economic Returns of Raising Purebred and Crossbred Pradu-Hangdum Chiangmai Breed of Thai Native Chicken
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อำนวย เลี้ยวธารากุล
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Amnuay Leotaragul
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ข้อมูลจากลูกไก่แรกเกิดประดู่หางดำเชียงใหม่พันธุ์แท้จำนวน 200 ตัว และลูกผสม 380 ตัว ที่ให้กินอาหาร สำเร็จรูปไก่ไข่ตามอายุของไก่แบบเต็มที่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Least squares analysis ผลการศึกษาพบว่า เมื่ออายุ พร้อมจำหน่าย (10-16 สัปดาห์ ไก่ลูกผสมมีน้ำหนักตัวสูงกว่า (P<0.01) ไก่พันธุ์แท้ โดยที่อายุ 12 สัปดาห์ ไก่พันธุ์แท้ และลูกผสมมีน้ำหนักตัว 1,245.95 + 20.41 และ 1,458.73 + 14.68 กรัม ส่วนประสิทธิภาพการใช้อาหารไม่แตกต่างกัน (P>0.05) ระหว่างทั้งสองพันธุ์โดย มีค่า 3.21 และ 3.29 ตามลำดับ สำหรับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจพบว่าไก่พันธุ์แท้ เท่ากับ 25.60 บาท/ตัว ขณะที่ไก่ลูกผสมให้ผลตอบแทน 30.13 บาท/ตัว
บทคัดย่อ (EN): Data from 200 and 380 one day old chicks of purebred and crossbred Pradu-Hangdum Chiangmai, respectively. The chicks were fed ad libitum with complete layer diets belong to age of chicken. The results showed that body weight of crossbred chicken at selling age (10-16 wk) were higher (P<0.01) than purebred. At 12 weeks of age, body weight of purebred and crossbred were 1,245.95 ± 20.41 and 1,458.73 ± 14.68 gm., for feed efficiency were 3.21 and 3.29 that did not differ (P>0.05) of both breed, economic returns of raising purebred and crossbred were 25.60 and 30.13 Baht/bird, respectively.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=891.pdf&id=756&keeptrack=13
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการเลี้ยงไก่พื้นเมืองไทยประดู่หางดำ เชียงใหม่พันธุ์แท้และลูกผสม
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2555
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ลักษณะภายนอกและสมรรถภาพการผลิตของไก่พื้นเมือง (ประดู่หางดำเชียงใหม่) พันธุ์แท้และลูกผสม ผลของการใช้ใบหม่อนหมักในอาหารต่อสมรรถการเจริญเติบโตในไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางดำระยะรุ่น (4-7 สัปดาห์) ความนุ่มของเนื้อไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่ 1 ไก่ลูกผสมประดู่หางดำเชียงใหม่ 1 และไก่กระทง ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่เมื่อเลี้ยงในระบบขังคอกและปล่อยอิสระ แนวทางการใช้น้ำเชื้อไก่พื้นเมืองไทยพันธุ์ประดู่หางดำเพื่อตรวจสอบรูปแบบยีน 24BP-PRL ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อเนื้อไก่พื้นเมือง (ประดู่หางดำเชียงใหม่) ระบบการสร้างอาชีพการเลี้ยงไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่อย่างยั่งยืน การส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่ของชุมชนบ้านห้วยแก้ว ต.แม่แฝก อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ น้ำหนักตัวและค่าอัตราพันธุกรรมของไก่พื้นเมืองไทยประดู่หางดำเชียงใหม่ เมื่อคัดเลือกถึงชั่วอายุที่ 9 ผลผลิตไข่และต้นทุนการผลิตลูกของไก่พื้นเมืองประดู่หางดำเชียงใหม่ เมื่อเลี้ยงโดยฟาร์มของเกษตรกร

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก