สืบค้นงานวิจัย
การผลิตปลาสวายโมงขนาด ๑ นิ้วด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน ในรางระบบน้าหมุนเวียน
สุภาพ แก้วละเอียด - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การผลิตปลาสวายโมงขนาด ๑ นิ้วด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน ในรางระบบน้าหมุนเวียน
ชื่อเรื่อง (EN): Production of Thai Panga (Pangasius hypophthamus x Pangasius bocourti) Fry with Different Densities in Water Recirculation System
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุภาพ แก้วละเอียด
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ: ปลาสวายโมง การผลิต ความหนาแน่น
คำสำคัญ (EN): Thai Panga(Pangasius hypophthamus x Pangasius bocourti), production, stocking densities
บทคัดย่อ: การผลิตปลาสวายโมงขนาด 1 นิ้ว ด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกนในรางระบบน ั ้าหมุนเวียนด าเนินการทดลองที่สถานีประมงน ้าจืดจังหวัดเชียงราย ระหวางเดือนกรกฎาคมถึงเดือนก ่ นยายน พ.ศ. ั 2551โดยผลิตลูกปลาสวายโมงในราง ขนาด 0.30 ×3.00 ×0.25 เมตร ที่ระดับน ้า 20 เซนติเมตร อัตราการหมุนเวียนของน ้า 4 ลิตรต่อนาที จ านวน 18 ราง ด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกน ั คือ 22, 33, 44, 66, 88 และ110 ตัวต่อลิตร หรือ 4,000 6,000 8,000 12,000 16,000และ 20,000 ตัวต่อราง ตามล าดับ ใช้ลูกปลาสวายโมงอายุ 3 วัน ความยาวเริ่มต้นเฉลี่ย 5.0±1.0 มิลลิเมตร น ้าหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 0.007±0.000 มิลลิกรัม ให้ไรแดงมีชีวิตเป็ นอาหาร ทุก 3 ชัวโมงในตอนกลางวัน ่ เวลา 08.00, 11.00, 14.00, และ17.00 น.และทุก 4 ชัวโมง ใน ่ตอนกลางคืน เวลา 21.00, 01.00 และ 05.00 น. เป็ นเวลา 7 วัน ลูกปลาอายุ 8-14 วัน ให้อาหารชนิดผงโปรตีนไม่ต ่ากว่า 40 เปอร์เซ็นต์ ลูกปลาอายุ 15-24วัน ให้อาหารชนิดเม็ดขนาด 1.5-2 มิลลิเมตร โปรตีนไม่ต ่ากว่า 37 เปอร์เซ็นต์ผลการทดลอง พบว่า ระยะเวลาการอนุบาล 24 วัน ลูกปลาสวายโมง มีความยาวสุดท้ายเฉลี่ย33.4±4.6, 33.3±0.9, 33.6±2.0, 34.5±1.8, 21.9±1.0 และ 21.3±1.1 มิลลิเมตร น ้าหนักสุดท้ายเฉลี่ย349.60±3.78, 379.23±23.49, 399.38±38.26, 420.07±18.94, 98.23±6.30 และ 92.86±87.34 มิลลิกรัม อัตราการรอดเฉลี่ย 87.59±8.74, 86.87±12.26, 78.46±14.43, 78.10±1.00, 60.35±6.13และ 45.62±5.32 เปอร์เซ็นต์ตามล าดับ จากการทดลอง พบว่า การเจริ ญเติบโตของลูกปลาทั้ง ความยาว น ้าหนัก และ อัตราการรอดแตกต่างอยาง่ มีนัยส าคัญทางสถิติ (p<0.05) และเมื่อพิจารณาต้นทุนการผลิต พบวา่ ที่อัตราความหนาแน่น 66 ตัวต่อลิตร หรือ 12,000 ตัวต่อราง เหมาะสมที่สุดส าหรับการทดลองในครั้งนี้ โดย มีกาไรสุทธิ 6,427.33 บาทต่อราง และให้ผลตอบแทนสูงสุด
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การผลิตปลาสวายโมงขนาด ๑ นิ้วด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน ในรางระบบน้าหมุนเวียน
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2554
เอกสารแนบ 1
การอนุบาลลูกปลาสวายโมงในกระชังด้วยความหนาแน่นต่างกัน ผลของความหนาแน่นและอายุกล้า ต่อขนาดของต้นกล้าและการทำลายของศัตรูข้าวระยะหลังปักดำในการผลิตเมล็ดพันธุ์หลักข้าวอินทรีย์ ผลของความหนาแน่นต่อการผลิตหอยแครง Anadara granosa (Linnaeus, 1758) ที่เลี้ยงในอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลของระดับอุณหภูมิ ความเค็ม และความหนาแน่นของอาหารต่อการผลิต ephyra ของแมงกะพรุนถ้วย (Catostylus sp.) ในห้องปฏิบัติการ การอนุบาลลูกปลาเทพาในระบบน้ำหมุนเวียนที่อัตราความหนาแน่นแตกต่างกัน การพัฒนาและเพิ่มผลผลิตปลาสวายโมง (Thai Panga) เพื่อการส่งออก การผลิตลูกปลานิลแปลงเพศในถังไฟเบอร์กลาสระบบน้ำหมุนเวียนที่ความหนาแน่นแตกต่ากัน ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารปลาสวายโมงขนาดเล็ก การพัฒนาเทคโนโลยีระบบการผลิตปลาบู่ การเลี้ยงลูกปลาช่อนด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก