สืบค้นงานวิจัย
โครงการวิจัยและพัฒนามะลิ
นายธวัชชัย นิ่มกิ่งรัตน์ - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: โครงการวิจัยและพัฒนามะลิ
ชื่อเรื่อง (EN): Jasmine Research and Development
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นายธวัชชัย นิ่มกิ่งรัตน์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ธวัชชัย นิ่มกิ่งรัตน์
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: โครงการวิจัยนี้ประกอบด้วย 2 การทดลอง สรุปได้ดังนี้ การทดลองที่ 1 การศึกษาและคัดเลือกพืชสกุลมะลิเพื่อเป็นต้นตอมะลิลา พบว่า พุทธชาดหลวงมีคุณสมบัติเป็นต้นตอที่ดีที่สุด ส่งผลให้มะลิลาผลิตดอกได้สูงที่สุด รองลงมา คือ มะลิพวง ให้ผลผลิตเท่ากับ 171.5 และ 113.7 กรัม/ต้น เนื่องจากระยะ 1-2 ปีแรก มะลิกิ่งตอน อัตราการการเจริญสูงกว่า ให้ทรงพุ่มสมบูรณ์ ผลผลิตดอกจึงมากกว่า การทดลองที่ 2 การศึกษารูปแบบการปลูกมะลิลาเพื่อผลิตดอกเชิงการค้า พบว่ารูปแบบการปลูกแบบแถวเดี่ยว ระยะปลูกระหว่างต้น x ระยะระหว่างแถว x ความสูงต้น = 0.5 x 1.5 x 1.6 เมตร (1,867 ต้น/ไร่) มีแนวโน้มให้ผลผลิตสูงที่สุด และมีการบริหารจัดการง่ายที่สุด โดยให้ผลผลิต 855.7 กรัม ต่อพื้นที่ 4 ตารางเมตร ขณะที่รูปแบบแถวคู่ ระยะปลูกระหว่างต้น x ระยะแถวคู่ x ระยะระหว่างแถวคู่ x ความสูงเท่ากับ 0.5 x 0.8 x 1.25 x 1.6 เมตร (2,732 ต้น/ไร่) ให้ผลผลิต 1,218.7 กรัม/4 ตารางเมตร แต่การบริหารจัดการในระยะยาวยุ่งยากและอาจเกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมาได้
บทคัดย่อ (EN): The research and development program in Mali. The second study consisted of two experiments are summarized below. 1. Education and screening plants to become rootstock, jasmine, Mali. I found Jasmine qualify as the best source. Followed by Malipoung (J. multiflorum Burm. f.) Andrcws yield of 171.5 and 113.7 g/plant. The first 1-2 years of Mali (J.sambac) with the layer, The growth rate higher, complete canopy then the yield more so 2. A Study planted jasmine flowers to produce commercial scale. The single-row planting patterns. Spacing between the x distance between rows x height = 0.5 x 1.5 x 1.6 m. (1,867 plant/rai) are likely to yield the highest. And have managed most easily by yielding 855.7 grams per 4 square meters. As double-row planting patterns. Spacing between the x distance double rows x distance between double rows x height = 0.5 x 0.8x 1.25 x 1.6 m. (2,732 plant/rai) By yield of 1,218 grams per 4 square meters. But the long-term management of disruptive and potentially other problems may occur.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการวิจัยและพัฒนามะลิ
กรมวิชาการเกษตร
30 กันยายน 2556
โครงการวิจัยและพัฒนาชาน้ำมัน โครงการวิจัยและพัฒนาสบู่ดำ โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ทุเรียน โครงการวิจัยและพัฒนาเฟิน โครงการวิจัยและพัฒนาเครื่องอัดฟางข้าว โครงการวิจัยและพัฒนาข้าวฟ่าง โครงการวิจัยและพัฒนามะม่วงหิมพานต์ โครงการวิจัยและพัฒนาหน้าวัว โครงการวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ โครงการวิจัยและพัฒนาการปรับปรุงพันธุ์ดาหลา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก