สืบค้นงานวิจัย
การบริหารจัดการการเงินของครัวเรือนเกษตรกรในจังหวัดขอนแก่น ปีการเพาะปลูก 2552/53
ธนาภรณ์ อธิปัญญากุล - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: การบริหารจัดการการเงินของครัวเรือนเกษตรกรในจังหวัดขอนแก่น ปีการเพาะปลูก 2552/53
ชื่อเรื่อง (EN): Financial management of farm household in Khon Kaen Province, crop year 2009/10
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ธนาภรณ์ อธิปัญญากุล
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Thanaporn Athipanyakul
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการการเงินของครัวเรือนเกษตรกรในจังหวัดขอนแก่น ปีการเพาะปลูก 2552/53 โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple random sampling) จํานวน 65 ตัวอย่างผลการศึกษาพบว่าครัวเรือนมี รายได้ทั้งหมดเฉลี่ยต่อครัวเรือนเท่ากับ 214,242.97 บาทต่อปี โดยรายได้ส่วนใหญ่มาจากนอกภาคการเกษตรต่อครัวเรือนโดยคิด เป็น 160,496.86 บาทต่อปีและรายได้จากภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อครัวเรือนมีเพียง 53,746.11 บาทต่อปี สําหรับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อ ครัวเรือนเท่ากับ 123,028.40 บาทต่อปีส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือนจํานวน 98,369.64 บาท มีค่าใช้จ่ายในภาคการเกษตร เพียง 24,688.71 บาทต่อปีเมื่อหักค่าใช้จ่ายพบว่าครัวเรือนสามารถออมได้ถึง 91,214.57 บาทต่อปี แต่เมื่อพิจารณาจํานวนหนี้สิน เฉลี่ยพบว่าครัวเรือนมีหนี้สินเฉลี่ยเท่ากับ 63,207.69 บาทต่อปี ดังนั้น ครัวเรือนจึงเหลือเงินออมสุทธิเพียง 28,006.89 บาทต่อปี ในด้านการบริหารจัดการการเงินของครัวเรือนพบว่า มีครัวเรือนร้อยละ 74.14 ที่ไม่มีการวางแผนการใช้เงิน และหากเงินไม่พอก็ จะทําการกู้มีครัวเรือนบางส่วนแก้ไขปัญหาโดยการประกอบอาชีพเสริมและปลูกพืชผักสวนครัวไว้บริโภคในครัวเรือน และเมื่อศึกษาถึงการทําบัญชีครัวเรือนพบว่ามีเพียง ร้อยละ 8.62 ที่จดบันทึกโดยครัวเรือนที่ไม่จดบันทึกให้เหตุผลว่าไม่เข้าใจการจดบันทึก ดังนั่น หนวยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการติดตามประเมินผลหลังจากจัดอบรมการทําบัญชีครัวเรือนเพื่อที่จะช่วยครัวเรือนให้ เข้าใจระบบการจดบันทึกบัญชีมากขึ้น
บทคัดย่อ (EN): The objective of this study was to investigate financial management of farm household in Khon Kaen province in crop year 2009/10. Simple random sampling was used for data collection. The survey of 65 households was carried out. Results showed that the average income per household was 214,242.97 baht per year. The major source of income came from agricultural sector and it was 160,496.86 baht per year. Income received from non-agriculture was only 53,746.11 baht per year. The average expenditure was 123,028.40 baht per year. More than 75 percent was spent for household consumption and the rest was for agricultural production. Average debt per household was about 63,207.69 THB per year, which borrowed from Bank of Agriculture and Cooperative. Net saving of household per year can be derived from difference between total income, total expenditure and total debt. It was about 28,006.89 THB. Considering financial management of household, 74.41 percent of total household had no plan to allocate their income for each item, e.g. for consumption and investment. If their expenditure were greater than income, they solved the problem by borrowing. Some households grown vegetable and raised livestock in order to reduce household expenditure. Only 8.62 percent recorded household accounting, which help households to have knowledge about their financial status. Households who did not record accounting, because they did not indeed understanding how to do recording. Therefore, the agencies who have a responsibility should evaluate the household accounting program.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=39.pdf&id=507&keeptrack=16
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การบริหารจัดการการเงินของครัวเรือนเกษตรกรในจังหวัดขอนแก่น ปีการเพาะปลูก 2552/53
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2554
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
พฤติกรรมการปฏิบัติงานและสุขภาวะของแรงงานครัวเรือนในครัวเรือนเกษตรกรชาวสวนยางพาราในจังหวัดสงขลา การบริโภคผลิตผลเกษตรในครัวเรือนเกษตรกร อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ผลการทำไร่นาสวนผสมของครัวเรือนเกษตรกร อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช การจำแนกครัวเรือนเกษตรกรที่มีระบบการทำฟาร์มแบบปลูกข้าวเป็นพืชหลักในจังหวัดกำแพงเพชร การศึกษาระบบการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรด ตำบลบ้านเสด็จ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ก้าวสู่ความสำเร็จการบริหารจัดการชลประทาน โดยเกษตรกรมีส่วนร่วม โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษากระเสียว จังหวัดสุพรรณบุรี การศึกษาองค์ประกอบการส่งเสริมการจัดทำบัญชีครัวเรือนกรณีศึกษา:เกษตรกรชาวสวนยางพารา ตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านกายภาพ ชีวภาพ และเศรษฐกิจสังคมต่อการยอมรับนวัตกรรมการทำนา ของครัวเรือนเกษตรกร ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง ปัจจัยที่มีผลต่อการทำเกษตรกรรมในระดับครัวเรือนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของเกษตรกรในเขตเทศบาลตำบลอุโมงค์ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน การปฏิบัติงาน ธรรมาภิบาล และความเป็นธรรมของแรงงานจ้าง ในการทำสวนยางพาราของครัวเรือนเกษตรกรชาวสวนยางพาราในจังหวัดสงขลา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก