สืบค้นงานวิจัย
การส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวไร่ โดยการใช้จุลินทรีย์กลุ่ม PGPR ควบคู่กับวิธีทางกายภาพโดยการฉายรังสี : การทดสอบระดับแปลง
มธุรส ชัยหาญ - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวไร่ โดยการใช้จุลินทรีย์กลุ่ม PGPR ควบคู่กับวิธีทางกายภาพโดยการฉายรังสี : การทดสอบระดับแปลง
ชื่อเรื่อง (EN): Enhancement of Upland Rice Growth Promoting by Plant Growth Promoting Rhizobacteria (PGPR) Combined with Physiological Methods by Irradiation: Field experiments
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: มธุรส ชัยหาญ
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): mathurot Chaiharn
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ปัญหาสารเคมีตกค้างในสินค้าเกษตรโดยเฉพาะในข้าว ซึ่งเป็นอาหารหลักของคนไทย เป็นเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค รวมทั้งตัวเกษตรกรที่เป็นผู้ใช้สารเคมีเอง การนำแบคทีเรียบริเวณรากพืชที่สามารถส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช (PGPR) มาใช้ร่วมกับการฉายรังสีแกมมา จึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการช่วยลดการใช้สารเคมีให้กับเกษตรกร โดยการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความเข้มข้นของการฉายรังสีแกมมาต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ และอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ ความสามารถในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวไร่ของจุลินทรีย์กลุ่ม PGPR ผลการวิจัยพบว่า ความเข้มข้นของรังสีแกมมาที่ 40 Gray ส่งเสริมเสริมให้เมล็ดข้าวไร่พันธุ์เจ้าฮ่อมีอัตราการงอกมากที่สุด และ เพิ่มขึ้นเมื่อผ่านการเก็บรักษาเป็นระยะเวลานานขึ้นจาก 95.00 ? 1.19 % เมื่อเก็บรักษาครบ 14 วัน และ 100 % เมื่อเก็บรักษาครบ 28 วัน เมื่อนำจุลินทรีย์ PGPR จำนวน 4 ไอโซเลท ได้แก่ Bacillus isolate MC 8, Bacillus isolate MC 15, Bacillus isolate MC 21 และ Bacillus isolate S.N. 5.6 มาทดสอบการละลายฟอสเฟตโดยเลี้ยงในอาหาร Pikovskaya’s agar medium ทดสอบการละลายโพแทสเซียม ด้วยวิธี spot test method บนอาหาร Aleksandrov agar medium และ ทดสอบสอบการผลิตไซเดอร์โรฟอร์ บนอาหาร Chrome Azurole S agar (CAS) ผลการวิจัยพบว่า Bacillus isolate S.N. ??.?? มีความสามารถในการละลายฟอสเฟต และ ผลิตไซเดอร์โซฟอร์ ได้ดีที??สุด อย่างไรก็ตาม พบว่า จุลินทรีย์ PGPR จำนวน ?? ไอโซเลท ที่นำมาทดสอบ ไม่มีความสามารถในการละลายโพแทศเซียม จากนั้นนำจุลินทรีย์ PGPR และความเข้มข้นของรังสีแกมมาที่ผ่านการทดสอบการส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวไร่ในระยะกล้า???? วัน มาทำการทดสอบต่อในระยะแตกกอ ???? วัน โดยคัดเลือกจุลินทรีย์ PGPR และ ความเข้มข้นของรังสีแกมมา ที่มีผลต่อข้าวไร่ในระยะกล้า ???? วัน มากที่สุด ได้แก่ Bacillus isolate MC 21 ร่วมกับการฉายรังสีที่???? Gray และ น้อยที่สุด ได้แก่ Bacillus isolate S.N. 5.6 ร่วมกับการฉายรังสีที่ 60 Gray มาใช้ร่วมกันในการปลูกข้าวไร่ระยะแตกกอ ???? วัน ผลการวิจัยพบว่า เมล็ดข้าวไร่ที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาที่ความเข้มข้น ???? Gray แล้วนำไปแช่ใน Bacillus isolate S.N. 5.6 มีผลต่ออัตราการงอก ของเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่มากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย ??????.???? ? 0 % ในส่วนของอัตราการเจริญเติบโตและ การสะสมของจุลินทรีย์ PGPR ภายในดินหลังจากการปลูกข้าวไร่พันธุ์เจ้าฮ่อในระยะแตกกอผลการวิจัยพบว่า เมล็ดข้าวไร่ที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาที่ความเข้มข้น ???? Gray แล้วนำไปแช่ในBacillus isolate MC 21 มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโตมากที่สุดได้แก่ ความสูงของต้น ข้าวไร่ เฉลี่ย 42.02 ? 23.14 cm จำนวนใบเฉลี่ย ????.???? ? ????.???? น้ำหนักใบสดเฉลี่ย 93.33 ? 1.52 g น้ำหนักแห้งเฉลี่ย ????.???? ? 0.54 g และ การสะสมของจุลิทรีย์ PGPR ภายหลังจากการปลูกข้าวไร่ ??.???106 cfu/g จึงสรุปได้ว่า การฉายรังสีแกมมาร่วมกับการใช้จุลินทรีย์ PGPR สามารถนำมาใช้ทดแทนปุ๋ยเคมีที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมได้
บทคัดย่อ (EN): Residual chemical problems in agricultural products, especially in rice. Which is the main food of Thai people. The use of plant root bacteria that can promote plant growth with rhizobacteria (PGPR) and gamma irradiation. In other hand, the way that help reduce the use of chemicals for farmers. This research aims were to test the concentration of gamma ray on seed quality and shelf life of upland rice seed ability to promote the growth of upland rice of PGPR microorganisms. Results show that gamma rays at 40 Gray promoted the seed germination of Jow Haw with the highest germination rate and increased when stored for a longer period of time from 95.00 ? 1.19% at 14 days and 100.00 ? 0% at 28 days. 4 PGPR treatment including isolates of PGPR Bacillus isolate MC 8, Bacillus isolate MC 15, Bacillus isolate MC 21 and Bacillus isolate S. N. 5.6 were tested the for phosphate solubility on Pikovskaya’s agar medium and potassium solubility using spot test method on Aleksandrov agar medium culture and for siderophores production on Chrome Azurole S agar (CAS). Bacillus isolate S.N. 5.6 was the best treatment which showed the highest phosphate solubility and siderophores production. After that, PGPR treatment and gamma ray treatment for plant growth promotion of were tested to promote the growth upland rice for 49 days. Treatment of gamma ray at 60 Gray and Bacillus isolate S.N. 5.6 effected the germination rate was 100.00 ? 0 %. Treatment of gamma ray at 60 Gray and Bacillus isolate MC 21 effected the growth rate showed that height of plant was 42.02 ? 23.14 cm, number of leaves was 18.47 ? 13.58, leaves fresh weight and dry weight were 93.33 ? 1.52 g and 14.46 ? 0.54 g respectively, and accumulation of PGPR microorganisms within the soil was 6 .3 ?1 0 6 cfu/g. In conclusion, gamma ray combination with PGPR treatment can be used to replace chemical fertilizers that effect the environment.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะวิทยาศาสตร์
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-61-015
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 287,700
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2561
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวไร่ โดยการใช้จุลินทรีย์กลุ่ม PGPR ควบคู่กับวิธีทางกายภาพโดยการฉายรังสี : การทดสอบระดับแปลง
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2561
ผลของระดับฟอสฟอรัสที่แตกต่างกันต่อการเจริญเติบโตของข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ผลของการใช้แบคทีเรียละลายฟอสเฟตในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวในสภาพแอโรบิก ผลของ Growth hormone analog ต่อการเจริญเติบโต และการเจริญพันธุ์ของปลาบึก ผลของอัตราการให้ปุ๋ยทางดินต่อการเจริญเติบโตของวานิลลา ระดับโปรตีนที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและอัตรารอดของกุ้งก้ามแดงวัยอ่อน การผลิตเอนไซม์สำหรับรักษาโรคโดยจุลินทรีย์ที่อยู่ร่วมกับพืช ศึกษาวิธีการจัดการปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของปาล์มน้ำมัน ผลของการใช้วัสดุคลุมแปลงปลูกที่แตกต่างกันที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของฟ้าทะลายโจร ผลของการใช้ปุ๋ยแคลเซียมซิลิเกตต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวพันธุ์ปทุมธานี 80 ในดินเค็ม ผลของการใช้วัสดุอินทรีย์เหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อการปรับปรุงดินต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวหอมกระดังงา (สายพันธุ์พื้นเมือง)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก